จักกวาฬทีปนี : พุทธธรรมเพื่อการจัดระเบียบสังคม

Main Article Content

พระองอาจ อาสโภ (ปริวัติ)
บัวลี มณีแสน
ทองคำ ดวงขันเพ็ชร
พระณัฐพงษ์ ญาณเมธี (ไกรเทพ)

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้ มีเนื้อหาเกี่ยวกับการวิเคราะห์วาทธรรมในคัมภีร์จักกวาฬทีปนีว่าสามารถช่วยจัดระเบียบสังคมได้อย่างไร จากการค้นคว้าพบว่า คัมภีร์จักกวาฬทีปนีมีหลักธรรมที่ใช้เป็นแนวทางในการดำเนินชีวิตของคนในสังคม สามารถสรุปได้ 3 วิธี คือ การให้ทาน การรักษาศีล การเจริญสมาธิภาวนา สอดคล้องกับบุญกิริยาวัตถุหรือสิ่งที่เป็นที่ตั้งแห่งการทำบุญ ในจักรวาลนี้มนุษย์โลกสามารถเลือกเองได้ว่าจะใช้ชีวิตในทุคติภูมิหรือสุคติภูมิ คัมภีร์นี้ช่วยเปิดมุมมองให้เหล่าสัตว์ทั้งหลายออกแบบชีวิตของตนเองได้ ทำชั่วก็ตกนรก ทำดีก็ได้ขึ้นสวรรค์ ทำใจให้บริสุทธิ์ก็เข้าถึงนิพพานได้ ตราบใดที่มนุษย์ดำรงชีวิตด้วยการทำบุญเป็นที่ตั้ง ตราบนั้นความปกติสุขก็จะยังคงอยู่ เมื่อประชาชนในสังคมมีความประพฤติที่ดี วาทธรรมของพระพุทธองค์ก็ช่วยผลักดันให้สังคมดีขึ้นเช่นเดียวกัน

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

Sarkisyanz, Manuel. (1965). Buddhist Backgrounds of the Burmese Revolution. Nijhoff: The Hague.

ชัปนะ ปิ่นเงิน. (2560). “จักกวาฬทีปนี : ต้นแบบทางความคิดพุทธสัญลักษณ์ล้านนา”. เรียกใช้เมื่อ 29 มกราคม 2561 จาก http://www.sri.cmu.ac.th/~elanna/symbollanna/article01_page01.html

พระจักรกฤษณ์ ธีรธมฺโม. (2558). “ศึกษาวิเคราะห์แนวคิดเรื่องเทวดาในคัมภีร์จักกวาฬทีปนี”. วารสารพุทธศาสตร์ศึกษา, 6(1), 82-87.

พระมหากฤตวิทย์ อธิฏฐาโน (สนธิสุข). (2548). “การศึกษาวิเคราะห์คัมภีร์โลกทีปกสารและจักกวาฬทีปนี”. ใน วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต คณะพุทธศาสตร์ สาขาวิชาปรัชญา . มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

สดุภณ จังกาจิตต์. (2520). “จักรวาลทีปนี กัณฑ์ที่ ๑ ๒ ๓”. ใน วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต คณะศึกษาศาสตร์ แผนกวิชาภาษาตะวันออก. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุนทรี โชตดิลิก. (2554). “การศึกษาวิเคราะห์คัมภีร์โลกทีปกสารและจักกวาฬทีปนี”. ใน วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สุภาพรรณ ณ บางช้าง. (2533). วิวัฒนาการวรรณคดีบาลีสายพระสุตตันตปิฎกที่แต่งในประเทศไทย เล่มที่ 2. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.