ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสิทธิมนุษยชนกับศีล 5 ตามหลักพุทธศาสนาเถรวาท

Main Article Content

อภิวัฒชัย พุทธจร

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ
หลักสิทธิมนุษยชนสากลได้ก่อกาเนิดขึ้นมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 18 โดยเน้นเรื่องสิทธิโดยธรรมชาติ ความคิดเรื่องกฎแห่งธรรมชาติและร่วมลงนามในกฎบัตรสหประชาชาติ จัดทาเป็นปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน มีบัญญัติไว้ 30 ข้อ เนื้อหาว่าด้วยเรื่องหลักการสาคัญของสิทธิมนุษยชน เรื่องสิทธิของพลเมือง สิทธิทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมและหน้าที่ของบุคคล สังคม และรัฐ
ศีล คือ ปกติวิสัยของมนุษย์ที่ควรละเว้นการเบียดเบียนซึ่งกันและกัน โดยแท้จริงแล้ว การรักษาเบญจศีล ก็คือ การควบคุมกายและวาจา มิให้ล่วงละเมิดปกติวิสัยของตน ไม่เกิดการเบียดเบียนต่อผู้อื่น เพื่อให้สมาชิกในสังคมอยู่ด้วยกันอย่างมีความสุขสงบร่มเย็น
สิทธิมนุษยชนเป็นสิ่งสาคัญของมวลมนุษยชาติ ตั้งแต่เกิดจนตาย ทั้งในแง่ธรรมชาติ การกระทา การควบคุมและการเข้าถึงได้ โดยอิงอยู่กับพื้นฐานของความชอบธรรมของมนุษย์ทุกคนในสังคม สิทธิมนุษยชน 6 ประการ และศีล 5 เป็นเหตุผล ไม่อาจแยกจากกันได้ จะมีแต่เพียงอย่างใดอย่างหนึ่งหาได้ไม่ และทั้งหมดนั้นได้เน้นให้บุคคลใช้สิทธิหน้าที่เพื่อการรู้แจ้งตนเอง เพื่อทาให้ตนสมบูรณ์ผ่านทางตัวบทกฎหมายของบ้านเมือง หลักศีลธรรม จริยธรรม เป็นต้น กล่าวได้ว่า หน้าที่ที่ชอบธรรมและสิทธิที่ถูกต้อง ย่อมไปด้วยกัน ต่างเป็นเหตุเป็นผลของกันและกัน หลักพุทธศาสนาเถรวาท คือ ศาสนาที่เน้นสิทธิที่ถูกต้องของปัจเจกบุคคลเป็นสาคัญ จะเห็นได้ว่า ทั้งสิทธิมนุษยชนและหลักศีล 5 ล้วนมีการส่งเสริมให้ปฏิเสธความชั่ว สนับสนุนให้กระทาความดีต่อกันในฐานะที่เป็นมนุษย์

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

เอกสารอ้างอิง

กรมคุ้มครองสิทธิเสรีภาพ. (2557). บทวิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์และความเชื่อมโยงเพื่อวางทิศทางแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ.2557-2561). กรุงเทพมหานคร: กระทรวงยุติธรรม.

คณะกรรมการประสานงานองค์กรสิทธิมนุษยชน (กปส.). (2544). กลไกคุ้มครองสิทธิมนุษยชนตามรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิฟรีดริค เอแบร์ท (FES).

ชะวัชชัย ภาติณธุ. (2548). กระบวนการเรียนรู้และปฏิบัติการสิทธิมนุษยชน. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์ โอ เอส พรินติ้ง เฮ้าส์.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2557). พุทธธรรม ฉบับปรับขยาย. (พิมพ์ครั้งที่ 39). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระพุทธโฆสาจารย์. (2554). คัมภีร์วิสุทธิมรรค แปลโดย สมเด็จพระพุทธจารย์ (อาจ อาสภมหาเถร). (พิมพ์ครั้งที่ 10). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์บริษัทธนาเพรสจากัด.

พระสมหมาย อตฺถสิทฺโธ (พืชสิงห์). (2557). ศึกษาสิทธิมนุษยชนในพระพุทธศาสนา. ใน สารนิพนธ์หลักสูตรปริญญาพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พุทธทาสภิกขุ. (2539). ธรรมในฐานะเป็นเครื่องมือ สร้างคน สร้างชาติ และสร้างโลก. กรุงเทพมหานคร: แสงธรรม.

| ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม–ธันวาคม 2566) Vol.8 No.2 (July–December 2023)

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2544). เอกสารประกอบการสอนชุดวิชามนุษย์กับอารยธรรม หน่วยที่ 1-7. นนทบุรี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

วันฉัตร สุวรรณกิตติ. (2540). เปรียบเทียบความคิดเรื่องชนชั้นของเพลโตและในพระไตรปิฎก. วารสารสังคมศาสตร์, 30(2), 40-43.

วิชัย ศรีรัตน์. (2544). พัฒนาการของสิทธิมนุษยชน. ดุลพาห, 48(3) : 47.

ศุภรา ศรีปริวาทิน. (2566). “แนวคิดและหลักการของสิทธิมนุษยชน”. เรียกใช้เมื่อ 12 พฤศจิกายน 2566 จากhttps://policetraining9.com9.

ศุภวุฒิ อุตมะ. (2566). สิทธิมนุษยชนกับประชาธิปไตย ศึกษากรณีหลักธรรมในพระพุทธศาสนา. เรียกใช้เมื่อ 15 พฤศจิกายน 2566 จากhttps://www.constitutionalcourt.or.th.

สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต), (2566). “สิทธิมนุษยชน สร้างสันติสุขหรือสลายสังคม”. เรียกใช้เมื่อ 12 พฤศจิกายน 2566 จาก https://www.papayutto.org/th/book-reading/452/6.

สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส. (2538). เบญจศีลเบญจธรรม (หลักสูตรธรรมศึกษา ชั้นตรี). (พิมพ์ครั้งที่ 15). กรุงเทพมหานคร: มหามกุฎราชวิทยาลัย.

สารานุกรมไทยฉบับเยาวชน. เล่มที่ 32 เรื่องที่ 4 “สิทธิมนุษยชน”. เรียกใช้เมื่อ 20 พฤศจิกายน 2566 จาก https://www.saranukromthai.or.th.

สาเนียง ยอดคีรี. (2544). จริยศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.