ปัญหาหลักการเสียงข้างมากในการรับรู้ของสังคมไทยระหว่างปี พ.ศ. 2544-2557

Main Article Content

วรเทพ ว่องสรรพการ
ศรัณย์ ธิติลักษณ์

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายการศึกษาอยู่ที่ปัญหาของหลักการเสียงข้างมากโดยมีกรณีศึกษาเป็นวาทกรรมทางการเมืองไทยในช่วงเวลาระหว่างปี พ.ศ.2544-2557  งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงเอกสารและการสัมภาษณ์เชิงลึกโดยใช้แนวคิดแบบทฤษฎีวิพากษ์ร่วมกับการวิเคราะห์วาทกรรม  โดยมีวัตถุประสงค์ในการศึกษาเพื่อทำความเข้าใจปัญหาการนำหลักการเสียงข้างมากมาใช้อ้างหลักการสนับสนุนการตัดสินทางสังการเมืองไทยในช่วงระหว่างปี พ.ศ.2544-2557  ผลการศึกษาที่ค้นพบคือปัญหาของหลักการเสียงข้างมากในสังคมไทยระหว่างปี พ.ศ. 2544-2557 เป็นปัญหาจากการรับรู้ที่แตกต่างกันของวาทกรรมความเป็นไทยกับวาทกรรมทางการเมืองที่ก่อตัวขึ้นในยุคของนายทักษิณ ชินวัตรซึ่งนำไปสู่ปัญหาการเมืองแบบแบ่งขั้วและเป็นอุปสรรคต่อการทำความเข้าใจสภาพปัญหาและการแสวงหาทางออกจากความขัดแย้งทางการเมืองจนกระทั่งถึงปัจจุบัน

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

เกษียร เตชะพีระ. (2547). ระบอบทักษิณ. ฟ้าเดียวกัน, 2(1), หน้า 36-55.

ชัยอนันต์ สมุทรวนิช. (2517). ความคิดอิสระ รวมบทความการเมืองระหว่างปี พ.ศ.2511-2516. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์พิฆเนศ.

ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร. (2545). วาทกรรมการพัฒนา : อำนาจ ความรู้ ความจริง เอกลักษณ์ และความเป็นอื่น (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ : วิภาษา.

ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร. (2555). สัญวิทยา โครงสร้างนิยม หลังโครงสร้างนิยม กับการศึกษารัฐศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : วิภาษา.

ประจักษ์ ก้องกีรติ. (2551). นิทานสอนใจว่าด้วยความโง่ จน เจ็บ ของผู้เลือกตั้งชนบท: มายาคติและอคติของนักรัฐศาสตร์ไทย. ฟ้าเดียวกัน, 6(4), หน้า 140-155.

ผู้จัดการออนไลน์. (2557, 7 มิถุนายน). ปาร์ตี้ลายพราง “กปปส.” ที่มาคำเตือน โปรดงดแต่งกายเลียนแบบ “ทหาร”. สืบค้น 25 กุมภาพันธ์, 2562, จาก https://mgronline.com/daily/detail/9570000063657

พิชญ์ พงศ์สวัสดิ์. (2547). เส้นทางประชาธิปไตยและการปรับตัวของรัฐไทยในระบอบทักษิณ. ฟ้าเดียวกัน, 2(1), หน้า 64-91.

มนตรี เจนวิทย์การ. (2554). พรรคการเมืองขนาดเล็กในการเลือกตั้งเป็นการทั่วไป 3 กรกฎาคม 2554 การวิเคราะห์พัฒนาการเชิงเปรียบเทียบ. วารสารสถาบันพระปกเกล้า, 9(2), หน้า 74-104.

ยศ สันตสมบัติ. (2547). วัฒนธรรมการเมืองไทยยุคทักษิณนิยม. ฟ้าเดียวกัน, 2(1), หน้า 56-61.

ราชกิจจานุเบกษา. (2549). พระราชกฤษฎีกา ยุบสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2549. เล่ม 123 ตอนที่ 20ก 24 กุมภาพันธ์ 2549, สืบค้น 31 สิงหาคม, 2561, จาก https://www.ratchakitcha.soc.go.th/ DATA/PDF/2549/00182649.PDF

สายชล สัตยานุรักษ์. (2548). การสร้าง “ความเป็นไทย” กระแสหลัก และ “ความจริง” ที่ “ความเป็นไทย” สร้าง. ฟ้าเดียวกัน, 3(4), หน้า 40-67.

สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ. (2553). แผนชิงชาติไทย ว่าด้วยรัฐและการต่อต้านรัฐสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม ครั้งที่สอง (พ.ศ. 2491-2500) (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : 6 ตุลารำลึก.

เอนก เหล่าธรรมทัศน์. (2553). สองนคราประชาธิปไตย (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ : คบไฟ.

Foucault, M. (1972). Archaeology of Knowledge and the Discourse on Language. New York: Pantheon Books.

Foucault, M. (1980). Power/Knowledge: Selected interviews and other writings 1972-1977. New York: Pantheon.

Habermas, J. (1984). The Theory of Communicative Action Volume 1: Reason and the rationalization of society. Boston: Beacon Press.

Habermas, J. (1987). The Theory of Communicative Action volume 2: Lifeworld and system: A critique of functionalist reason. Boston: Beacon Press.

Habermas, J. (1991). The Structural Transformation of the Public Sphere: An inquiry into a category of bourgeois society. Cambridge Massachusetts: The MIT Press.

Habermas, J. (1996). Between Facts and Norms. Contributions to a discourse theory of law and democracy. Cambridge: MIT Press.

Habermas, J. (2003). Truth and Justification. Cambridge: MIT Press.

Horkheimer, M. (1982). Critical Theory Selected Essays. New York: The Continuum Publishing Company.

Lemke, Thomas. (2011). Biopolitics: An advanced introduction. (trans.) Eric Frederick Trump. New York: NYU Press.

Outhwaite, W. (2009). Habermas: A critical introduction (2nd ed.). Cambridge: Polity.