สังคมนิยมของคาร์ล มาร์กซ์ สะท้อนสังคมไทย

Main Article Content

พระมหาวิจิตร กลฺยาณจิตฺโต
สุธี แก้วเขียว

บทคัดย่อ

สังคมไทยมีลักษณะวิวัฒนาการคล้ายกับสังคมของมาร์กซ์เดิมที่อำนาจ สิทธิเสรีภาพ ความเป็นพลเมืองขึ้นอยู่กับผู้ที่มีอำนาจ และยังคงอยู่ในทุกวันนี้ แต่มีลักษณะที่แฝงอยู่สามารถจัดเป็นลักษณะคือ ๑. โครงสร้างส่วนล่าง ๒.โครงสร้างส่วนบน  ในอดีตจะเห็นความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างส่วนล่างถูกกำหนดโดยโครงสร้างส่วนบน แต่ปัจจุบันสถานการณ์แปรเปลี่ยนไปโครงสร้างสังคมส่วนล่างเป็นตัวกำหนดโครงสร้างสังคมส่วนบน หมายถึงทรรศนะทางการเมือง คนส่วนล่างเป็นผู้ตั้งรัฐบาล แต่คนส่วนบนเป็นผู้ล้มรัฐบาลที่ปรากฏสภาพการเมืองมาจนทุกวันนี้ ความจริงภาพสังคมตามแนวคิดของคาร์ล มาร์กซ์ยังคงมีอยู่ การต่อสู้ของคนชั้นกรรมากรเรียกร้องต่างๆก็ยังปรากฏจนนำไปสู่ความขัดแย้งในทุกระดับไม่จะเป็นระดับปัจเจกบุคคล ครอบครัว สังคม รัฐ จนถึงระดับโลก ด้วยความแตกต่างในด้านเป้าหมาย วิธีการ ค่านิยม วัฒนธรรม อันจะนำไปสู่การคิด ความรู้สึก การกระทำต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งแตกต่างกัน ไม่ยอมให้กัน เกิดเป็นความขัดแย้งขึ้น  ในช่วงสามทศวรรษที่ผ่านมา กระแสการเคลื่อนไหวในสังคมโลกส่งผลให้มีการปรับเปลี่ยนกระบวนวิธีคิดของกระบวนการยุติธรรมทางเลือกและการยุติข้อพิพาทใช้กระบวนการในทางอาญาบางประเภทด้วย

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กุหลาบ สายประดิษฐ์. พิมพ์ครั้งที่ ๒. ปรัชญาของลัทธิมาร์กซิสม์. เชียงใหม่ : โดยแนวร่วมนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
คณะกรรมการอิสระตรวจสอบและค้นหาความจริงเพื่อการปรองดองแห่งชาติ (คอป.). รายงานฉบับสมบูรณ์ คณะกรรมการอิสระตรวจสอบ และค้นหาความจริงเพื่อการปรองดองแห่งชาติ(คอป.)กรกฎาคม- กรกฎาคม ๒๕๕๕.
จักวัน แก้วจันดา ,กนิษฐา หอมกลิ่น ,ประภัสสรา คงศรีวรกุลชัย, สังคมนิยมและคอมมิวนิสม์, [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : http://www.baanjomyut.com/library_2/socialist_and_communist
_zionist/02.html [๑๐ มีนาคม ๒๕๕๖].
จามะรี พิทักษ์วงศ์. แนวความคิดทฤษฎีทางสังคมวิทยา. กรุงเทพฯ : ธรรมศาสตร์,๒๕๓๓.
ฉันทิมา อ่องสุรักษ์ (แปล). พิมพ์ครั้งที่ ๒. R.N.Carew Hunt, The Theory and Practice of Communism, วิเคราะห์ลัทธิคอมมิวนิสต์.กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๒๖.
ชาญ กรัสนัยบุระ. วัฒนาการความคิดสังคมนิยม. กรุงเทพฯ: เจริญวิทย์, ๒๕๑๗.
บุญศักดิ์ แสงระวี และแวว ศศิธร. วิวัฒนาการของลัทธิมาร์กซ์. กรุงเทพฯ: สุขภาพใจ, ๒๕๕๑.
ฟอยเออร์บัคของคาร์ล มาร์คซ์, แปลโดย ใจ อึ๊งภากรณ์, [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : http://www.marxists.org/thai/archive/marx-engels/1845/theses/index.htm [๒ มกราคม ๕๖].
เฟรดริค เองกลส์. คำประกาศแห่งความเสมอภาค. องค์กรนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แปล. กรุงเทพฯ : เจริญวิทย์การพิมพ์, ๒๕๑๗.
มอริซ แครนสตัน. ปรัชญาการเมือง ส.ศิวรักษ์ (แปล). กรุงเทพฯ : โครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์, ๒๕๑๕.
ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมศัพท์ปรัชญา อังกฤษ-ไทย. พิมพ์ครั้งที่ ๓. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน, ๒๕๔๓.
วิทยา ศักยาภินันท์. ปรัชญาคาร์ล มาร์กซ์. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,๒๕๓๓.
สมศักดิ์ สามัคคีธรรม, สมพงษ์ ดุลยอนุกิจ. แนวคิดแบบมาร์กซิสต์:ว่าด้วยโครงสร้างส่วนล่างและโครงสร้างส่วนบน. กรุงเทพฯ : คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๒๙.
สมัคร บุราวาศ. ปัญญาวิวัฒน์ : กำเนิดและวิวัฒนาการณ์. กรุงเทพฯ : สถาบันเอสเอ็ม, ๒๕๕๐.
สุภา ศิริมานนท์. แคปิตะลิสม์. พระนคร: สำนักพิมพ์เคล็ดไทย, ๒๕๑๗.
สุเมธ เมธาวิทยกุล. ปรัชญาเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์, ๒๕๓๔.
สุวินัย ภรณวลัย. ประวัติศาสตร์ขบวนการความคิดสังคมนิยมโดยสังเขป. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๒๙.
อรทัย ปิ่นเกตุมณี. ระบอบสังคมคอมมิวนิสต์...รูปแบบสังคมสุดท้ายของมนุษยชาติ . [ออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.firelamtung.com/modules.php?op=modload&name
=News&file=article&sid=102&mode =thread&order=0&thold=0 (๒๗ มีนาคม ๒๕๕๖).
Abrahamson, Mark, Mizruchi, Ephriaim H. and Hornung, Carlton A.. Stratification and Mobility. New York : Macmillan Publishing Co., Inc., 1976.
and Charless Rist, History of Economic Doctrines, (ed.1947), pp. 211-42, 255-73.; A. Gray,
Karl Diehl, Uber Sozialismus. Kommunismus and Anarchismus. (Jena, 1920),p.181.; Charles Gide
Karl Marx and Friedrich Engels , Selected Works Vol.1, pp. 108-109. ดูเพิ่มเติมใน คาร์ล มาร์กซ์,
Karl Marx and Friedrich Engels. Selected Works Vol.1. Moscow: Progress Publishers, 1977.
Karl Marx and Frederick Engels, The German Ideology, pp. 7-9. ดูเพิ่มเติมใน น. ชญานุตม์, วิวัฒนาการ ของคาร์ล มาร์กซ์, หน้า ๘-๑๓. และ ทวี หมื่นนิกร, หลักลัทธิคาร์ล มาร์กซ์เลนิน เล่ม ๒ : สาระธรรมสำนักประวัติศาสตร์, หน้า ๒๘๘-๓๐๗.
Karl Marx. Selected Writings in Sociology and Social Philosophy. newly translated by T.B. Bottomore. London: McGraw-Hill, 1964.
Karl Marx. The Economic & Philosophic Manuscripts. in Allen W.Wood. ed.. Marx: Selections. New York : Macmillan Publishing Company, 1988.
The Socialist Tradition, (1946), pp. 135-256. อ้างใน R.N.Carew Hunt, The Theory and Practice of Communism, ฉันทิมา อ่องสุรักษ์ (แปล), วิเคราะห์ลัทธิคอมมิวนิสต์, หน้า ๑๘๑-๑๙๐.