ศึกษาวิเคราะห์มนุษย์กับการปกครองในอรรถกถาธรรมบท
Main Article Content
บทคัดย่อ
อำนาจเป็นสิ่งที่มีอยู่คู่กับการปกครอง สังคมใดมีการปกครอง สังคมนั้นก็ย่อมมีการใช้อำนาจ อำนาจที่ต้องการคืออำนาจที่เป็นธรรม (ธรรมวัส) รัฐไหนไม่มีเศรษฐี รัฐนั้นจะมีแต่ความยากจน พระราชาจึงจำเป็นต้องแสวงหาเศรษฐีหรือทายาทของเศรษฐีที่อยู่ในเมืองหรือรัฐอื่น ๆ มาอยู่ประจำ เพื่อต้องการให้เศรษฐีนั้นช่วยทำให้ระบบเศรษฐกิจการค้าของบ้านเมืองมีความเจริญรุ่งเรืองยิ่งขึ้น เศรษฐีในสมัยพุทธกาลเป็นตำแหน่งที่พระราชาทรงแต่งตั้งและเป็นข้าราชการ มีหน้าที่เป็นที่ปรึกษาด้านเศรษฐกิจและช่วยเก็บภาษีอากรให้แก่พระราชา
Article Details
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ก่อนเท่านั้น
References
ณัฐวุฒิ ถิรธมฺโม (รอดวงค์ศา), พระมหา. “ศึกษาวิเคราะห์การสงเคราะห์ระหว่างอาณาจักรกับศาสนจักรที่ปรากฏในคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา : กรณีศึกษาพระเจ้าปเสนทิโกศลกับพระพุทธศาสนา”. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๓.
พงษ์พันธ์ จันทรวราทิตย์. “บทบาทของเศรษฐีที่ปรากฏในพระไตรปิฎก”. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตร มหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : ภาควิชาภาษาตะวันออก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๒๒.
มหามกุฏราชวิทยาลัย. พระธัมมปทัฏฐกถา. พิมพ์ครั้งที่ ๑๗. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๔๑.
รังษี สุทนต์. “การศึกษาวิเคราะห์บทบาทของอนาถบิณฑิกอุบาสกที่ปรากฏในคัมภีร์พระพุทธศาสนา”. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๔.
อานนท์ อาภาภิรม. รัฐศาสตร์เบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์โอเดี้ยนสโตร์, ๒๕๔๕.
http://webcache.googleusercontent.com/search?q=cache:IGX๖qusYCkJ [สืบค้นข้อมูลเมื่อ ๑๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๕].