ศึกษาวิเคราะห์มนุษย์กับการบริหารราชการแผ่นดินในจารึกอโศ
Main Article Content
บทคัดย่อ
รัฐจะต้องจัดบริการสาธารณะเพื่อให้ประชาชนในรัฐ ไม่โง่ ไม่มั่วสุมรื่นเริง ไม่เจ็บกายและไม่เจ็บใจเนื่องจากถูกเอารัดเอาเปรียบจากบุคคลอื่น และคุ้มครองป้องกันประชาชนและสัตว์ต่าง ๆ
บทบาทของของรัฐที่มีต่อพุทธจักรประกอบไปด้วยบทบาทด้านการอุปถัมภ์ การเป็นต้นแบบแก่พหูชนในภายหลัง การคุ้มครองป้องกันภัย และการส่งข้าราชการให้ไปสอดส่องดูแลเพื่อให้มีใครไปทำลายสงฆ์ได้
ข้าราชการจะต้องปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายในส่วนราชการที่สังกัดอยู่และราชการในส่วนรวมคือการสั่งสอนธรรมพร้อมกันไปด้วย เพื่ออํานวยความผาสุกแกประชาชนโดยธรรม
Article Details
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ก่อนเท่านั้น
References
_________. จารึกอโศก (ธรรมจักรบนเศียรสี่สิงห์) รัฐศาสตร์แห่งธรรมาธิปไตย. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ผลิธัมม์, 2552.
พระอุดรคณาธิการ (ชวินทร์ สระคำ). ประวัติศาสตร์พุทธศาสนาในอินเดีย. กรุงเทพ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2534.
มหามกุฏราชวิทยาลัย. ปฐมสมันตปาสาทิกาแปล เล่ม 1. พิมพ์ครั้งที่ 10.กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554.
สุชีพ ปุญญานุภาพ เรียบเรียง ชุบ กาญจนประกร เขียนเชิงอรรถ. ลุ่มน้ำนัมมทา. พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานฌาปนกิจศพ คุณแม่เย็น หุวะนันท์. พระนคร : โรงพิมพ์ส่วนท้องถิ่น กรมการปกครอง, 2514.
อัญชนา จิตสุทธิญาณ และคณะ. การศึกษาวิจัยจารึกกลุ่มปราสาทตาเมือน.กรุงเทพฯ : ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2555.
https://th.wikipedia.org/wiki/พระเจ้าอโศกมหาราช (สืบค้นข้อมูลเมื่อวันที่ 7 ธันวาคม 2560)