ศึกษาวิเคราะห์มนุษย์กับการปกครองในวรรณกรรมไตรภูมิพระร่วง
Main Article Content
บทคัดย่อ
ไตรภูมิพระร่วงหรือเตภูมิกถาเป็นวรรณกรรมทางจักรวาลวิทยาตามแนวทางพระพุทธศาสนา โดยมีหลักการปกครองของพระเจ้าจักรพรรดิเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย พระเจ้าจักรพรรดิได้ทรงสั่งสอนหลักการปกครอง ซึ่งเรียกว่า “หลักชัยวาทสาสน์” แก่กษัตริย์ทั้งหลาย ซึ่งแบ่งเป็น 2 ส่วน คือทศพิศราชธรรม ซึ่งเป็นมิติด้านอารมณ์ และหลักสำคัญ 10 ประการ ซึ่งเป็นมิติด้านการบริหารราชการแผ่นดิน ด้านเศรษฐกิจและด้านศาสนา จึงเป็นเหตุทำให้การปกครองบ้านเมืองประสบความสำเร็จอย่างแท้จริง
Article Details
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ก่อนเท่านั้น
References
ชัยอนันต์ สมุทวณิช. ความคิดทางการเมืองการปกครองไทยโบราณ. กรุงเทพฯ : คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2519.
นิยะดา เหล่าสุนทร. ไตรภูมิพระร่วง การศึกษาที่มา. กรุงเทพ ฯ : สำนักพิมพ์แม่คำผาง, 2543.
พญาลิไทย. ไตรภูมิพระร่วง. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2535.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). พัฒนาสังคมไทยด้วยความรู้เข้าใจไตรภูมิฯ. พิมพ์ครั้งที่ 8.กรุงเทพ ฯ : สถาบันบันลือธรรม, 2553.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). พจนานุกรมพุทธศาสน์ฉบับประมวลศัพท์ (ชำระ-เพิ่มเติม ช่วงที่ 1).พิมพ์ครั้งที่ 12. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2551.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. อรรถกถาภาษาบาลีฉบับมหาจุฬาฯ. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาวิญญาณ, 2532.
ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. กรุงเทพฯ : บริษัท ศิริวัฒนาอินเตอร์พริ้นท์ จำกัด (มหาชน), 2556.
https://th.wikipedia.org/wiki/พระเจ้าจักรพรรดิ (สืบค้นข้อมูลเมื่อวันที่ 20 กันยายน 2560)
http://www.mcu.ac.th/site/articlecontent_desc.php?article_id=1466&articlegroup_id=278 [สืบ ค้นข้อมูลเมื่อ 8 สิงหาคม 2560].
http://www.baanjomyut.com/library_2/extension3/buddhist_literature_modern_society/04.html [สืบค้นข้อมูลเมื่อวันที่ 26 กันยายน 2560].