ศรี-ลักษมี เทวีคู่บัลลังก์กษัตริย์กัมพุช
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาความเชื่อในเรื่องพระศรี-พระลักษมี โดยใช้กลุ่มข้อมูลในจารึกแม่บุญตะวันออก ซึ่งเป็นจารึกที่บันทึกประวัติศาสตร์ในสมัยพระเจ้าราเชนทรวรมันที่ 2 (พ.ศ.1487-1511) ผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่า กวีได้เปรียบเทียบกษัตริย์กัมพูชาสมัยโบราณเป็นเทพที่อวตารลงมายังโลกมนุษย์เพื่อเป็นกษัตริย์ปกครองประชาราษฎร์ปราบทุกข์เข็ญ และการที่จะเป็นกษัตริย์ที่ยิ่งใหญ่ได้นั้นจะต้องมีพระศรี-พระลักษมีที่รุ่งเรืองส่องสว่างอยู่กับพระองค์ตลอดเวลา ตราบใดที่พระศรี-พระลักษมียังคงรุ่งเรืองมั่นคงอยู่ ตราบนั้นพระเดชของกษัตริย์ก็จะมีความยิ่งใหญ่เกรียงไกร เพราะพระศรี-พระลักษมีนอกจากเป็นเทวีแห่งความมั่นคง, อุดมสมบูรณ์และโชคลาภแล้ว ยังเป็นผู้เกื้อกูลให้กษัตริย์ได้รับชัยชนะในการรบทัพจับศึกตลอดเวลาอีกด้วย
Article Details
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ก่อนเท่านั้น
References
แชนด์เลอร์, เดวิด. ประวัติศาสตร์กัมพูชา. พิมพ์ครั้งที่ 4. แปลจาก A history of Cambodia. แปลโดย พรรณงาม เง่าธรรมสาร และคณะ. กรุงเทพฯ: มติชน, 2552.
เนื้ออ่อน ขรัวทองเขียว. แกะรอยพระลักษมี. กรุงเทพฯ: มิวเซียมเพรส, 2553.
ผาสุข อินทราวุธ. “ตราดินเผารูปคช-ลักษมีและกุเวรจากเมืองนครปฐม.” เมืองโบราณ 9, 3 (สิงหาคม-พฤศจิกายน 2526): 92-101.
พระมหาปราโมทย์ แก้วนา. “การศึกษาวิเคราะห์จารึกแม่บุญตะวันออก.” วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาสันสกฤต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2559.
ภัฏฏาจารยะ, กมเลศวร. ศาสนาพราหมณ์ในอาณาจักรขอม. พิมพ์ครั้งที่ 3. แปลโดย หม่อมเจ้า
สุภัทรดิศ ดิศกุล. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง, 2547.
หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล. ประวัติเอเชียอาคเนย์ ถึง พ.ศ.2000, พิมพ์ครั้งที่ 4 (กรุงเทพฯ: สามลดา, 2549.
Cœdès, George. Inscriptions du Cambodge. I-VIII vols. Hanoi: Imprimarie d’ Extrême-Orient, 1937-1966.
. The Indianized States of Southeast Asia, Edited by Walter F. Vella. Translated by Susan Brown Cowing. Honolulu: East-West Center Press, 1968.
Daweewarn, Dawee. Brāhmanism in South-East Asia (From The Earliest Time to 1445 A.D.). New Delhi: Sterling Publishers Private, 1982.
Finot, L. Inscriptions d’Angkor. Hanoi: Imprimarie d’ Extrême-Orient, XXV, 1925.
Keith, A. Berriedale, A History of Sanskrit Literature (London: Oxford University Press, 1966.
Kumar, Pushpendra. The Viṣṇu Mahāpurāṇam. Translated by Manmattha Nath Dutt. Delhi : Eastern Book Linkers, 2005.
Majumdar, R.C. Inscriptions of Kambuja. Calcutta: The Asiatic Society, 1953.
. and Ramesh Chandra. Kambuja-Deśa : An ancient Hindu colony in
Cambodai. Reprint. Philadelphia: Institute for the Study of Human Issues, 1980.
Mani, Vettam. Purāṇiic Encyclopaedia. Reprint. Delhi: Motilal Banarsidass, 1975.
Sharan, Mahesh Kumar. Select Cambodian Inscriptions (The Mebon And Pre Rup Inscriptions of Rajendravarman II). New Delhi: S.N. Publications, 1981.
Williams, Monier. Sanskrit-English Dictionary. 16th ed. Delhi: Motilal Banarsidass, 2011.