พุทธวิธีในการปฏิบัติต่อบุคคลต่างศาสนา

Main Article Content

สุธี แก้วเขียว
พระนิพ์พิชน์ โสภโณ

บทคัดย่อ

พื้นฐานทางสังคมดั้งเดิมก่อนการอุบัติของพระพุทธศาสนา เต็มไปด้วยศาสนาดังเดิมอยู่ก่อนและมีความเชื่อที่หลากหลาย พระพุทธศาสนาประกาศคำสอนโดยใช้หลักเหตุผลและกฎแห่งศีลธรรมตามสากลนิยม อีกทั้งให้เสรีภาพในการนับถือศาสนา มิได้มีการบังคับ จึงมีผู้เปลี่ยนศาสนานับถือจำนวนมาก การปฏิบัติต่อบุคคลต่างศาสนาพระพุทธศาสนาสอนให้มีความยุติธรรม รู้จักให้เกียรติไม่รุกรานเบียดเบียนผู้อื่น รวมทั้งให้การยอมรับศาสนาอื่น สำหรับกรณีที่เกิดความขัดแย้งกับบุคคลต่างศาสนา พระพุทธศาสนาสอนให้มีสติ หยุดความโกรธ ใช้เหตุผลทำความเข้าใจ และใช้การเจรจาเพื่ออธิบายให้ผู้อื่นเข้าใจ แม้กระทั่งความขัดแย้งรุนแรงที่จะนำพาให้เกิดการทำลายชีวิต ก็ให้มีสติสงบระงับเพราะเวรย่อมระงับด้วยการไม่จองเวร ให้รู้จักเอาชนะจิตใจตนเองมากกว่าการเอาชนะผู้อื่น

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

(๑) หนังสือ:
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปิฎกภาษาบาลี ฉบับมหาจุฬาเตปิฏกํ ๒๕๐๐.
กรุงเทพมหานคร : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๕.
__________. พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๙.
คณาจารย์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ศาสนาทั่วไป. พระนครศรีอยุธยา:
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๒.
คณะกรรมการกองการตำรามหามกุฏราชวิทยาลัย, รวบรวมแลเรียบเรียง. พุทธศาสนาสุภาษิต.
กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๕๒.
โจเซฟแกร์. ศาสนาทั้งหลายนับถืออะไร. แปลโดย ฟื้น ดอกบัว. กรุงเทพมหานคร: โอเดียน สโตร์,
๒๕๒๔.
ณรงค์ เส็งประชา. มนุษย์กับสังคม. กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร์, ๒๕๓๒.
บุญสมใจ เจนใน. พระพุทธศาสนา ศาสนาประจำชาติไทย. กรุงเทพมหานคร: คณะกรรมการจัดการ
ส่งเสริมพระพุทธศาสนา วันวิสาขบูชา, ๒๕๕๗.
พระครูโฆสิตพุทธิศาสตร์ (ธีรพันธ์ วชิรญาโณ). ปรัชญาอินเดีย, (กรุงเทพมหานคร: ประยูรสาส์นไทย
การพิมพ์, ๒๕๕๑.
พระเทพดิลก (ระแบบ ฐิตญาโณ). ที่นี่คือประเทศไทย. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพมหานคร:
พรศิวการพิมพ์, ๒๕๔๘.
พระเทพเวที (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). การสร้างสรรค์ประชาธิปไตย. พิมพ์ครั้งที่ ๕. . กุรงเทพมหานคร:
โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๕.
พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). ตั้งกระทรวงพุทธศาสนา เหตุผลที่แท้อยู่ที่ไหน. กรุงเทพมหานคร:
มูลนิธิพุทธธรรม, ๒๕๔๕.
พุทธทาสภิกขุ. พุทธ-คริสต์ในทัศนของพุทธทาส. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์เทียนวรรณ,
๒๕๒๗.
ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยาสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕. พิมพ์ครั้งที่ ๔.
กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์อักษรเจริญทัศน์, ๒๕๒๕.
สนธิ์ บางยี่ขัน และวิธาน สุชีวคุปต์. ปรัชญาไทย. กรุงเทพมหานคร: คุณพินอักษรกิจ, ๒๕๒๖.
สุชีพ ปุญญานุภาพ. พระไตรปิฏกฉบับประชาชน. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย,
๒๕๓๓.
เสถียร พันธรังสี. ศาสนาเปรียบเทียบ. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์อักษรสาสน์, ๒๕๒๔.
เสมอ บุญมา. อัตถาและวิเคราะห์ศัพท์ในปฐมสมโพธิกถา. นครปฐม: แผนกบริการกลาง
มหาวิทยาลัยศิลปากร พระราชวังสนามจันทร์, ๒๕๒๕.
อดิศักดิ์ ทองบุญ. ปรัชญาอินเดีย. พิมพ์ครั้งที่ ๓. กรุงเทพมหานคร : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,
๒๕๔๖.