บทบาทท้องถิ่นกับการบริหารจัดการเมืองแบบ Smart City
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทบาทท้องถิ่นกับการบริหารจัดการเมืองแบบ (Smart City) เพื่อเป็นการพัฒนาท้องถิ่นให้มีประสิทธิภาพประสิทธิผลและมีความปลอดภัย โดยมุ่งเน้นความเป็นนวัตกรรมและการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ ในการสร้างเครือข่ายการสื่อสารที่เชื่อมโยงทั้งระบบของเมือง บทบาทท้องถิ่นในการบริหารจัดการเมืองอัจฉริยะ (Smart City) นั้นก็เพื่อทำให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีในเมืองที่น่าอยู่ (Livability) เป็นการพัฒนาไปสู่ความยั่งยืนของเมือง (Sustainability) เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการเมือง (Efficiency) และเป็นการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาเมือง ในบทความนี้ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นซึ่งเป็นส่วนหนึ่งและเป็นองค์กรหลักในการพัฒนาท้องถิ่นให้เจริญรุ่งเรือง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีบทบาทในการสร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัย เพื่อสร้างการบริหาร จัดการท้องถิ่นให้มีประสิทธิภาพประสิทธิผล และพัฒนาศักยภาพผู้บริหารและข้าราชการท้องถิ่นให้มีความเป็น มืออาชีพสูง ยึดหลักการทำงานที่รวดเร็วแม่นยำและตอบสนองต่อความต้องการของภาคประชาชน ในยุคที่เทคโนโลยีมีบทบาทสำคัญยิ่งต่อการพัฒนาท้องถิ่นในทุกมิติ
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ก่อนเท่านั้น
References
สถาบันพระปกเกล้า. (2563). รายงานสถานการณ์ การกระจายอำนาจ ประจำปี พ.ศ. 2562 : บทสำรวจการพัฒนาเมืองอัจฉริยะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกล้า
เอกชัย สุมาลี. (2558). Smart City: การพัฒนาและปรับใช้ระบบ IT ในการบริหารจัดการเมือง. กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกล้า
เอกชัย สุมาลี และชัยวุฒิ ตันไชย. (2562). เมืองอัจฉริยะ: แนวคิดพื้นฐานและระบบปฏิบัติการสำหรับเมืองในยุคดิจิทัล. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า.
อรทัย ก๊กผล. (2559). Urbanization เมื่อ “เมือง” กลายเป็นโจทย์ของการบริหารจัดการท้องถิ่นสมัยใหม่. กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกล้า.
ฤทัยชนก เมืองรัตน์. เมืองอัจฉริยะ : การพัฒนาเมืองยุค ๔.๐. สืบค้น 25 กุมภาพันธ์ 2564 จาก https://www.parliament.go.th
สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล. แผนส่งเสริมการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ. สืบค้น 25 กุมภาพันธ์ 2564 จาก https://www.depa.or.th/th/smart-city-plan
อัชชพล ดุสิตนานนท์. สมาคมสถาปนิกฯ พลิกไทยสู่ผู้นำ “สมาร์ทซิตี้”. สืบค้น วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2564 จาก กรุงเทพธุรกิจ: https://www.bangkokbiznews.com/ News/detail/853854
Wikipedia. Smart city. สืบค้น 26 กุมภาพันธ์ 2564 จาก https://en.wikipedia.org/Wiki/Smart city Tapananont, N., Thammapornpilas, J., Punnoi, N., Vichienpradit, P., Trakulkajornsak,K., Tangswanit, P., et al. (2018). Smart City Development. Unisearch Journal, 5(1), 3-8. (in Thai)