การเลือกตั้งกับความเคลื่อนไหวทางการเมืองของท้องถิ่นในทศวรรษที่ 21

Main Article Content

วิศิษฐกุล สิริปญฺโญ

บทคัดย่อ

ในบทความเรื่องการเลือกตั้งกับความเคลื่อนไหวทางการเมืองของท้องถิ่นในทศวรรษที่ 21  เป็นเรื่องที่ต้องศึกษาเกี่ยวกับการเลือกตั้งและความเคลื่อนไหวทางการเมืองของท้องถิ่น การเมืองท้องถิ่นคือ การเมืองที่ว่าด้วยหลักการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่ในท้องถิ่น โดยให้ประชาชนที่อาศัยอยู่ในท้องถิ่น ได้จัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่เพื่อคนในท้องถิ่นของเขาเอง ซึ่งเป็นหลักการกระจายอำนาจที่สำคัญ ที่แสดงถึงว่า คนในพื้นที่จะรับรู้เรื่องปัญหาต่างๆ ที่พวกเขาเผชิญอยู่ได้ดีที่สุดและยิ่งไปกว่านั้นพวกเขามีศักยภาพในการบริหารจัดการพื้นที่ของตนเองได้ ดังนั้น การเลือกตั้งกับความเคลื่อนไหวทางการเมืองของท้องถิ่นในทศวรรษที่ 21 ว่า กระแสการตื่นตัวทางการเมืองของประชาชนในท้องถิ่นจะมีประชาชนมาเลือกตั้งมากน้อยแค่ไหน พฤติกรรมในการเลือกตั้งของประชาชนเปลี่ยนไปอย่างไร นั่นก็บงชี้ถึงความสัมพันธ์ทางการเมืองในระดับท้องถิ่นระหว่างนักการเมืองและประชาชนต่างเรียนรู้วิถีการต่อรองผลประโยชน์ผ่านกระบวนการเลือกตั้ง นับได้ว่าเป็นการเคลื่อนไหวทางการเมืองของท้องถิ่นอย่างแท้จริง

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

โภคิน พลกุล. (ม.ป.ป.). ปัญหาและข้อคิดบางเรื่องจากรัฐธรรมนูญ.กรุงเทพฯ:สมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย.

วัชรา ไชยสาร. (2545). การเมืองภาคประชาชน. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์เมฆขาว. สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. (2562). สาระน่ารู้เกี่ยวกับการเลือกตั้งท้องถิ่น ชุด 1108 ความรู้ เกี่ยวกับการเลือกตั้งท้องถิ่น.

สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. (2562). สาระน่ารู้เกี่ยวกับการเลือกตั้งท้องถิ่น ชุด 2 ความรู้ เกี่ยวกับการปกครองส่วนท้องถิ่นและวัฒนธรรมทางการเมือง.

สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. (2562). สาระน่ารู้เกี่ยวกับการเลือกตั้งท้องถิ่น ชุด 4 ความรู้เกี่ยวกับผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง เจ้าพนักงานผู้ดำเนินการเลือกตั้ง และกระบวนการลงคะแนนเลือกตั้ง.

สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. (2562). คู่มือประชาชน : เลือกตั้ง อบจ.

สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. (2562). คู่มือประชาชน : เลือกตั้งเทศบาล.

สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. (2562). คู่มือประชาชน : เลือกตั้ง อบต.

สุธี ประวัติไท. (2526). บทเสนอว่าด้วยการปฏิวัติยังไม่สิ้น ใน คลื่นแห่งทศวรรษ. รวบรวมและจัดพิมพ์โดยบัณฑิต ธรรมตรีรัตน์. กรุงเทพมหานคร: เอดิสัน เพรส โพดักส์.

อรรถจักร์ สัตยานุรักษ์. (2557). ประชาธิปไตยคนไทยไม่เท่ากัน. กรุงเทพฯ : มติชน.

วิทยา ชินบุตร. การเคลื่อนไหวทางการเมืองของภาคประชาชนสู่การจัดตั้งพรรคการเมือง. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยเทิร์น มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, ปีที่ 2 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน–ธันวาคม 2559, หน้า 94

สติธร ธนานิธิโชติ และธนพันธ์ไล่ประกอบทรัพย์. ระบบการคัดสรรผู้สมัครรับเลือกตั้งในนามพรรคการเมือง : ทางเลือกและข้อเสนอเสนอแนะสำหรับประเทศไทย. วารสารสถาบันพระปกเกล้า,15(1),2560 หน้า 6.

สุพัฒน์จิตร ลาดบัวขาว. การเลือกตั้งท้องถิ่น: ข้อจำกัดของกระบวนการประชาธิปไตย. วารสารร่มพฤกษ์มหาวิทยาลัยเกริก . ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม –สิงหาคม 2561. หน้า 177

David, Aberle. The Peyote Religion Among the Navaho. Chicago: Winthrop.1966, p.625