การบริหารจัดการขยะตามหลักอิทธิบาท 4 ในยุค Renewal Energy 4.0

Main Article Content

เกศี จันทราประภาวัฒน์

บทคัดย่อ

การบริหารจัดการขยะในยุค Renewal Energy 4.0 ใช้เทคโนโลยีการฝังกลบ เทคโนโลยีเตาเผาขยะ เทคโนโลยีการผลิตก๊าซเชื้อเพลิงจากขยะ เทคโนโลยีการย่อยสลายขยะ และเทคโนโลยีเชื้อเพลิงจัดการขยะ ซึ่งมีปัจจัยการบริหารจัดการขยะ โดยใช้หลักทฤษฎี PDCA ประกอบด้วย  1) การวางแผน (Plan - P) 2) การปฏิบัติตามแผน (Do - D) 3) การตรวจสอบ (Check - C) 4) การปฏิบัติ ส่วนปัจจัยทางอิทธิบาท 4 ซึ่งได้แก่ 1) ฉันทะ รักงาน 2) วิริยะ สู้งาน  3) จิตตะ ใส่ใจงาน 4) วิมังสา ทำงานด้วยปัญญา เป็นตัววัดความสำเร็จของการบริหารจัดการขยะ การบริหารตามหลักอิทธิบาท 4 ในการจัดการขยะในยุค Renewal Energy 4.0 เป็นเทคโนโลยีที่สอดคล้องกับการจัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้แก่ แผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย แผนอนุรักษ์พลังงาน แผนพัฒนาพลังงานทดแทน และพลังงานทางเลือก แผนการจัดหาก๊าซธรรมชาติของไทย และแผนบริหารจัดการน้ำมันเชื้อเพลิง โดยในการจัดทำแผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก ซึ่งให้ความสำคัญในการส่งเสริมการผลิตพลังงานจากวัตถุดิบพลังงานทดแทนที่มีอยู่ภายในประเทศให้ได้เต็มตามศักยภาพด้วยเทคโนโลยีที่มีความเหมาะสมเพื่อผลประโยชน์ร่วมในมิติด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กระทรวงมหาดไทย. ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การจัดการมูลฝอย พ.ศ. 2560. กรุงเทพมหานคร: กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น, 2560.

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน. แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก พ.ศ. 2558 – 2579 Alternative Energy Development Plan (AEDP2015).

ขยะพลาสติกเพิ่มขึ้นถึง 6,300 ตันต่อวัน ผลจากที่คนไทยใช้บริการฟู้ดเดลิเวอรี่. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://www.bltbangkok.com [22 มีนาคม 2564].

โควิด-19 ระบาด ทำคนไทยไม่กล้าออกนอกบ้าน ดันยอดสั่งฟู้ดเดลิเวอรีโต 3 เท่า, [ออนไลน์], แหล่งที่มา: https://thestandard.co [22 มีนาคม 2564].

ทวารัฐ สูตะบุตร. บทสัมภาษณ์เรื่อง ทิศทางและนโยบาย ENERGY 4.0. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.eppo.go.th [27 ธันวาคม 2564].

พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). พุทธธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2542.

พระราชญาณวิสิฐ (เสริมชัย ชยมงฺคโล). ความสำเร็จ หลักธรรมสู่ความสำเร็จและสันติสุข. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ธรรมสภา, 2545.

พิทยา บวรวัฒนา. การบริหารเชิงบูรณาการ. นนทบุรี: สำนักงานข้าราชการพลเรือน, 2546.

ยุพดี เสตพรรณ. ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม. (กรุงเทพมหานคร: พิศิษฐการพิมพ์, 2544.

วิกฤตโควิด - 19 กำลังซ้ำเติมวิกฤตขยะพลาสติกหรือไม่. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://www.greenpeace.org [22 มีนาคม 2564].

สนอง วรอุไร. ทำชีวิตให้ได้ดีและมีสุข. พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์อัมรินทร์, 2550.

ส่วนสิ่งแวดล้อม จัดหวัดอุทัยธานี. คู่มือองค์ความรู้การบริหารจัดการขยะมูลฝอย. เอกสารเผยแพร่ศูนย์การเรียนรู้การคัดแยกขยะและภายในสำนักงานบริหารส่วนตำบลโดนประดู่.

สุธีรา ตุลยะเสถียร และคณะ. มลพิษสิ่งแวดล้อม ปัญหาสังคมไทย. กรุงเทพมหานคร: บริษัทรวมสาสน์ (1997), 2544.

อาณัติ ต๊ะปินตา. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอย. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553.

Dale Yoder. Personnel Principles and Policies. fourth printing, Englewood Cliffs: New Jersey Prentice - Hall, lnc. 1956.

Luther Gulick and Lyndall Urwick. Papers on the Science of Administration. NewYork: Institute of Public Administration, 1937.

Shah, K. L. Basic of Solid and Hazardous Waste Management Technology. (New Jersey: Prentice-Hall, Inc, 2000.

Simon. Smithburg &Thompson. Public Administration. 14th ed. New York: Alfred A.Knope, 1971.