หลักกัลยาณมิตรธรรม : หลักพุทธธรรมสำหรับภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ ๒๑

Main Article Content

ชนากร ศาสตร์สกุล

บทคัดย่อ

หลักพุทธธรรมสำหรับภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 เป็นภาวะผู้นำที่ส่งเสริมให้ผู้บริหารมีความเป็นกัลยาณมิตรในตนและสนับสนุนให้บุคลากรในองค์กรได้มีหลักกัลยาณมิตร โดยมีการแนะนำสั่งสอนที่ดีด้วยวาจาที่สุภาพ น่ารัก น่าเจริญใจ มีเพื่อนที่คบหา และบุคคลผู้แวดล้อมที่ดี ความรู้จักเลือกเสวนาบุคคล หรือเข้าร่วมหมู่กับท่านผู้ทรงคุณทรงปัญญามีความสามารถ ซึ่งจะช่วยแวดล้อม สนับสนุนชักจูง ชี้ช่องทาง เป็นแบบอย่าง ตลอดจนเป็นเครื่องอุดหนุนเกื้อกูลแก่กัน ให้ดำเนินก้าวหน้าไปด้วยดี ในการศึกษาอบรม การครองชีวิตการประกอบกิจการ และธรรมปฏิบัติ สิ่งแวดล้อมทางสังคมที่ดี ร่วมกับการมีภาวะผู้นำในการวางแผน จัดองค์กร บังคับบัญชา ประสานงาน ควบคุมการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพ

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย . พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร:มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,2539.

กิติ ตยัคคานนท์. เทคนิคการสร้างภาวะผู้นำ. (กรุงเทพมหานคร: เปลวอักษร. 2543).

ดวงจันทร์ นิยมเขียน. บทบาทของผู้นำ. (กรุงเทพมหานคร: บันลือสาส์น. 2550).

เถาวัลย์ นันทาภิวัฒน์. หลักการจัดการ. (กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2521).

ธนัธฎา ประจงใจ. “ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำของครูผู้สอนในสถานศึกษา”. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต. (บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยราชภัฎรำไพพรรณี. 2557).

นพพงษ์ บุญจิตราดุล. หลักการบริหารการศึกษา. (กรุงเทพมหานคร: ศูนย์การพิมพ์กรุงเทพมหานคร. 2534).

บุญเลิศ อ่อนกูล. “พฤติกรรมผู้นำของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดราชบุรี”. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. (บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2554).

พรนพ พุกกะพันธ์. ภาวะผู้นำและการจูงใจ. (กรุงเทพมหานคร: จามจุรีโปรดักท์. 2544). หน้า 2.

พระเทพเวที (ประยุทธ์ ปยุต.โต). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ครั้งที่ 6. พ.ศ.2532.

พระธรรมปิฎก (ป. อ. ปยุตฺโต). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์. พิมพ์ครั้งที่ 8. (กรุงเทพมหานคร: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. 2538).

พระธรรมปิฎก (ป. อ. ปยุตฺโต). พุทธธรรมฉบับปรับปรุงและขยายความ. พิมพ์ครั้งที่ 8. (กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. 2552).

พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตโต). ภาวะผู้นำ. พิมพ์ครั้งที่ 7. (กรุงเทพมหานคร: สุขภาพใจ. 2546).

พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ครั้งที่ 6. พ.ศ.2552.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตโต). ภาวะผู้นำ : ความสำคัญต่อการพัฒนาคนพัฒนาประเทศ.(กรุงเทพมหานคร: ธรรมสภา. 2546).

พระราชวรมุนี (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). เพื่อน. พิมพ์ครั้งที่ 2. (กรุงเทพมหานคร: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. 2541).

พัชรี ชำนาญศิลป์. “ภาวะผู้นำเชิงพุทธ”. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต. (บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. 2557).

พันตรีป. หลงสมบุญ (รวบรวมและเรียบเรียง). พจนานุกรม มคธ-ไทย. (กรุงเทพมหานคร: บริษัท ธรรมสาร จํากัด. 2546).

พิณญ์บุหงา แสงศรีธรรมะกูล. “ภาวะผู้นำของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา”. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต. (บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. 2555).

รุ่ง แก้วแดง. โรงเรียนนิติบุคคล. (กรุงเทพมหานคร: วัฒนาพานิช. 2546).

สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถร). แปลและเรียบเรียง. คัมภีร์วิสุทธิมรรค. พิมพ์ครั้งที่ 4. (กรุงเทพมหานคร: บริษัทประยูรวงศ์พริ้นติ้ง จํากัด. 2546).

สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถร). แปลและเรียบเรียง. คัมภีร์วิสุทธิมรรค. พิมพ์ครั้งที่ 4. (กรุงเทพมหานคร: บริษัทประยูรวงศ์พริ้นติ้ง จํากัด. 2546).

สุรพล สุยะพรหมและคณะ. ทฤษฎีองค์การและการจัดการเชิงพุทธ. (กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. 2555).

Bass.B.M.andAvolio B.J. Transformational Leadership Development. (Califormia : Consulting Psychologists Press. 1990). P31.

Chester I Bernard. Organization and Management. (Cambridge Massachusetts:

Harvard University Press. 1965). p.83.

Ralph Stogdill. Leadership Membership and Organization. (Psychologicalbulletin. 1950). p.4.

Rensis Likert. The human Organization. (New York : Mc Graw Hill. 1968). p.172.