เวสารัชชกรณธรรม หลักธรรมสำหรับการจัดการศึกษาในภาวะวิกฤตโควิด-19
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิชาการเรื่อง เวสารัชชกรณธรรม หลักธรรมสำหรับการจัดการศึกษาในภาวะวิกฤต โควิด-19 มีวัตถุประสงค์ของการนำเสนอแนวคิดสรุปหลักธรรมที่ส่งผลให้การจัดการศึกษาในภาวะวิกฤตโควิด-19 เป็นไปอย่างเหมาะสม เวสารัชชกรณธรรม ทำให้เกิดความกล้าหาญ 5 ประการ คือ 1.ศรัทธา คือ การเชื่อสิ่งที่ควรเชื่อ 2. ศีล คือ การรักษากายวาจาให้เรียบร้อย 3. พาหุสัจจะ คือ ความเป็นผู้ศึกษามาก 4. วิริยารัมภะ คือ ปรารภความเพียรหรือความขยัน 5. ปัญญา คือ การรอบรู้สิ่งที่ควรรู้ ผู้บริหารสถานศึกษาควรนำหลักธรรมนี้มาใช้เพื่อจัดการศึกษาในภาวะวิกฤตโควิด-19 โดยจะทำให้การจัดการศึกษาเป็นไปอย่างเหมาะสม ส่งเสริมให้บุคลากรประสบความสำเร็จในการจัดการเรียน การสอนอย่างมีประสิทธิภาพ และส่งผลให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ตามหลักสูตรที่กำหนด
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ก่อนเท่านั้น
References
กรมควบคุมโรค, สถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มาตรการสาธารณสุขและปัญหาอุปสรรคการควบคุมโรคของผู้เดินทาง. วิเคราะห์สถานการณ์โควิด. (14 มกราคม 2564) : 1.
กระทรวงศึกษาธิการ, โครงการให้ความช่วยเหลือบรรเทาภาระค่าใช้จ่ายด้านการศึกษาในช่วงการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19. มาตรการช่วยเหลือบรรเทาภาระค่าใช้จ่ายนักเรียน. (17 พฤษภาคม 2564)
กระทรวงศึกษาธิการ, ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การเลื่อนเวลาเปิดภาคเรียนที่ 1 ประจำปีการศึกษา 2564 ของกระทรวงศึกษาธิการ. ประกาศ ศธ. เรื่อง การเปิดเรียนและการใช้อาคารสถานที่ของสถานศึกษา เพื่อเตรียมความพร้อมรองรับการเปิดภาคเรียนในระยะแรก. (19 พฤษภาคม 2564)
ชาญชัย อาจินสมาจาร. การบริหารการศึกษา .กรุงเทพฯ : พิมพ์ดีจำกัด, 2541.
โชษิตา ศิริมั่น. (2564). ทักษะการบริหารสถานศึกษาของผู้บริหารในภาวะวิกฤตโควิด-19 ของสถานศึกษา ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 31. NMCCON2021, 407-416.
ไทยรัฐออนไลน์.ถอดบทเรียนสารพัดปัญหาจัดการศึกษาในสถานการณ์วิกฤตโควิด -19 :ทลายข้อจำกัดสร้างคุณภาพเท่าเทียม.[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จากhttp:///www.thairath.co.th/news/ society/2041921. เมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2564.
พนัส หันนาคินทร์. การบริหารการศึกษา.กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์, 2542.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) และพระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). เวสารัชชกรณธรรม 5พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. A.III.127
พระสุตตันตปิฎก อังคุตรนิกาย ปัญจก-ฉักกนิบาต เล่ม 3- หน้าที่ 234.
สุวิมล มธุรส. (2564). การจัดการศึกษาในระบบออนไลน์ในยุค NEW NORMAL COVID-19. วารสารรัชต์ภาคย์, 33-42.
สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตโต), พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม, พิมพ์ครั้งที่ 12, กรุงเทพมหานคร ;โรงพิมพ์พระพุทธศาสนาของธรรมสภา, 2546.
Good C.V., Dictionary of Education. 3 rd ed. New York : Mc Graw - Hill, 1998.