ครูตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
Main Article Content
บทคัดย่อ
ครูในพระพุทธศาสนา คือบุคคลที่มีความหนักแน่นทางด้านความประพฤติและความรู้
ทำหน้าที่สั่งสอนและถ่ายทอดวิชาความรู้แก่ศิษย์ เป็นกัลยาณมิตรผู้เพียบพร้อมด้วยคุณสมบัติที่จะสั่งสอน แนะนำ ชี้แจง ชักจูง ช่วยบอกช่องทางหรือเป็นตัวอย่างให้ผู้อื่นดำเนินไปในหนทางแห่งการฝึกฝนอบรมอย่างถูกต้อง ทั้งครูประจำบ้าน ครูประจำโรงเรียน ครูประจำวัด ครูประจำโลก ครูประจำสังคม ครูประจำตัว และครูประจำธรรมชาติ ล้วนแต่มีส่วนสำคัญในการช่วยพัฒนาชีวิตและสังคมให้มีความเจริญรุ่งเรือง และผู้ที่จะเป็นครูที่ดีในพระพุทธศาสนานั้น ต้องมีคุณสมบัติแห่งความเป็นครูที่เรียกว่ากัลยาณมิตตธรรม มีจุดมุ่งหมายในการสอน รู้หลักการสอน มีวิธีการสอน มีศิลปะการสอน และทำหน้าที่สอน พร้อมทั้งมีธรรมที่ส่งเสริมบทบาทครู เช่น มีความไม่ประมาท และเว้นธรรมที่เป็นปฏิปักษ์ต่อการทำหน้าที่ครู เช่น อคติ เป็นต้น
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ก่อนเท่านั้น
References
โกสินทร์ รังสยาพันธ์. (2530). ปรัชญาและคุณธรรมสำหรับครู. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์กรมการศาสนา.
ปิ่น มุทุกันต์. (2524). มงคลชีวิต ภาค 2. กรุงเทพมหานคร : คลังวิทยา.
_________. (2540) ยุคทองยุคธรรม. กรุงเทพมหานคร : คลังวิทยา.
พระเทพวิสุทธิญาณ (อุบล นนฺทิโก). (2549). อธิบายธรรมวิภาค ปริจเฉทที่ 1. พิมพ์ครั้งที่ 7. นครปฐม : โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2557). พุทธธรรม ฉบับปรับขยาย. พิมพ์ครั้งที่ 39. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2546). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 12. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระมหาขวัญ ถิรมโน. (2553). ครู วิศวกรสร้างโลก. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ บริษัทศรีปกรณ์ พริ้นติ้ง จำกัด.
พระมหาสุพัฒน์ กลฺยาณธมฺโม. (2545). พระพุทธเจ้า : บทบาทและหน้าที่ในฐานะพระบรมครู. ในวิทยานิพนธ์ พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระเมธีธรรมาภรณ์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). (2539). ครูที่ดีต้องมีธรรมะ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร. มูลนิธิพุทธรรม.
พระราชวรมุนี (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). (2536). เทคนิคการสอนของพระพุทธเจ้า. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร : บริษัทพิมพ์สวย จำกัด.
พระราชวรมุนี (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). (2540). ขอบฟ้าแห่งความรู้. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พันตรี ป. หลงสมบุญ. (2540). พจนานุกรม มคธ-ไทย. กรุงเทพมหานคร : อาทรการพิมพ์.
พุทธทาสภิกขุ. (2529). ครูในอุดมคติ. กรุงเทพมหานคร : นิพพานการพิมพ์.
__________. (2521). การศึกษาคืออะไร. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์กรมการศาสนา.
มหามกุฏราชวิทยาลัย. (2552). พระไตรปิฎกภาษาบาลี ฉบับสยามรัฐ เตปิฏกํ. นครปฐม : โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.
_______. (2560). มังคลัตถทีปนีภาษาบาลี ทุติโย ภาโค. พิมพ์ครั้งที่ 19. นครปฐม : โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.
_______. (2541). ธัมมปทัฏฐกถาภาษาบาลี ทุติโย ภาโค. พิมพ์ครั้งที่ 29. นครปฐม : โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2531). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช 2525. กรุงเทพมหานคร : อักษรเจริญการพิมพ์.