การบริหารการมีส่วนร่วมกับการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน

Main Article Content

Arunrat Satsagul

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้เป็นเรื่อง การบริหารการมีส่วนร่วมกับการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ซึ่งในสถานการณ์ปัจจุบันสถานศึกษาส่วนใหญ่ ยังมีความเหลื่อมล้ำแตกต่างกัน ทั้งในด้านงบประมาณ คุณภาพ บุคลากร หรือแม้แต่ปัจจัยด้านผู้เรียน รวมถึงปัจจัยเอื้ออื่นๆ เช่น ความร่วมมือของคณะกรรมการสถานศึกษา การสนับสนุนจากชุมชน หน่วยงานหรือองค์กรที่อยู่ใกล้เคียงสถานศึกษา  อีกทั้ง ปัจจุบันสถานศึกษามีอิสระในการบริหารจัดการศึกษาด้วยตนเอง มีการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาตามบริบทและความต้องการของตนเอง คุณภาพผู้เรียนและคุณภาพในการบริหารจัดการจึงมีความแตกต่างกัน


การประกันคุณภาพการศึกษาเป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา สร้างความเชื่อมั่นให้สังคมและกับทุกฝ่ายให้ยอมรับในคุณภาพของสถานศึกษาว่าผู้เรียนทุกคนจะได้เรียนรู้ตลอดชีวิตเพิ่มโอกาสทางการศึกษาอย่างทั่วถึงมีคุณภาพตามมาตรฐาน ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการบริหารและการจัดการศึกษา ของ “PARS” ประกอบไปด้วย 1) Plan วางแผน 2) Action ลงมือทำ 3) Recheck ตรวจสอบ 4) Success ภาพความสำเร็จ และการประกันคุณภาพการศึกษามีความสำคัญช่วยให้สถานศึกษาได้มีการพัฒนาองค์ความรู้ให้เป็นสากลจนทำให้สถานศึกษานั้นก้าวหน้าและมีความแข็งแกร่งทางวิชาการมากขึ้น

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กฎกระทรวง.(๒๕๖๑). การประกันคุณภาพการศึกษา.(ออนไลน์).สืบค้นจากhttp://www.

ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2561/A/011/3.PDF(๔ ตุลาคม ๒๕๖๕)

เดโช แสนภักดี. ความสำคัญของการประกันคุณภาพการศึกษา. สืบค้นเมื่อ ๔ ตุลาคม ๒๕๖๕, จาก https://sites.google.com/a/cas.ac.th/itsci/phaenkar-prakan-khunphaph/khwam-sakhay- khxng-kar-prakan-khunphaph-kar-suksa.

วศินอิงคพัฒนากุลและคณะ. (2556). พัฒนาการการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน :กรณีศึกษา

มหาวิทยาลัยศิลปากร. วารสารVeridian E-Journal กลุ่มมนุษย์ศาสตร์สังคมศาสตร์และ

ศิลปะ.Vol.6 No. 2 (May-August 2013): หน้า 848 – 863

สฤษดิ์ ทุมคำ.(2553:38). การประกันคุณภาพสถานศึกษา.สืบค้นจาก

http://www.ptu.ac.th/StudentServe/input/thesis/[10][140916032034].pdf

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2552). การกำหนดมาตรฐานการศึกษาของ สถานศึกษาตามกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา.กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.

อคิน รพีพัฒน์. (2547). การมีส่วนร่วมของประชาชนในงานพัฒนา.กรุงเทพฯ: ศูนย์การศึกษา

นโยบายสาธารณสุข.

ผกามาศ มาสอน การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาเพื่อสร้างมาตรฐานการศึกษายุคใหม่

Cohen, J. M., & Uphoff, N. (1980). Participation’s Place in Rural Development:

Seeking Clarity through Specificity. World Development.

M. Sashkin. (1982). A manager , s guide to participative management. New York, NY: AMA. Membership Publications, Division, pp. 110-113.

White, Alastair T. (1982). Why Community Participation, Annual UN.Report A Dicussion of The Agrument Community Participation: Current issue and lesson learned. Boston: Prentice Hall.

Cohen,J.M. and Uphoff, N.T. (1980). Participation’s place in rural development: Seeking clarify through specificity world development 8. Cornell University:Rural Development Committee Center for International Studies.

Agbayani, J. A. (1974). Jr Popular Participation Incommunity Development, University the Phillippines.Phillippin: Institute of Social Work and Community Development.