วุฒิธรรม 4: การบริหารสถานศึกษา

Main Article Content

ปาลิดา นามเสนาะ
ไพฑูรย์ อุทัยคาม

บทคัดย่อ

การบริหารการศึกษาแบบมีส่วนร่วม เป็นหัวใจสำคัญในการศึกษายุคปัจจุบัน เป็นระบบระหว่างผู้ปกครองและครูในการจัดการศึกษา เป็นการบริหารแบบ School – Based Management          หลักวุฑฒิธรรมได้เข้ามามีส่วนสำคัญต่อการพัฒนาการบริหารสถานศึกษาของผู้บริหาร


การบริหารสถานศึกษาตามหลักวุฒิธรรม 4 ประกอบด้วย 1) สัปปุริสสังเสวะ การคบสัตบุรุษ เป็นการส่งเสริมบุคลากรในสถานศึกษาของตนเองแสวงหาความรู้ 2) สัทธัมมัสสวนะ การฟังธรรม เป็นส่งเสริมให้บุคลากรสนับสนุนจัดโครงการกิจกรรมเพื่อให้บุคลากรในสังกัดของตนได้ความรู้3) โยนิโสมนสิการการไตร่ตรองธรรม เป็นการกระตุ้นให้มีกระบวนการคิดไตร่ตรองพิจารณาความรู้ที่ได้รับจากการศึกษาเรียนรู้ 4) ธัมมานุธัมมปฏิปัตติ การปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม เป็นการนำความรู้ที่ได้รับจากการอบรมกิจกรรมหรือศึกษาหาความรู้จากผู้มีความรู้นักปราชญ์ชาวบ้านนำไปปฏิบัติให้เกิดผลกับการปฏิบัติงานตามหน้าที่ของตนด้วยกระบวนการของการมีส่วนร่วม

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

ประภาพร ซื่อสิทธิกุล, หลักการบริหารสถานศึกษาแบบมีส่วนร่วม. กรุงเทพมหานคร: ไทยวัฒนา

พานิช, 2560.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปิฎกภาษาบาลี ฉบับมหาจุฬาเตปิฏก. 2500. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์รุ่งเรืองธรรม, 2506.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2539.

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. การบริหารงานบุคคลในโรงเรียน. นนทบุรี: โรงพิมพ์

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2560.

ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์, การบริหารงานวิชาการ. กรุงเทพมหานคร: พิมพ์ดี จํากัด เพลท, ๒๕๕๑.

รังสรรค์ มณีเล็ก. การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (School-Based Management : SBM)

หลักเทคนิคการบริหารและการวางแผน. กรุงเทพมหานคร: ข้าวฟ่าง, 2564.

ธีระ รุญเจริญ. ความเป็นมืออาชีพในการจัดและบริหารการศึกษายุคปฏิรูปการศึกษา.

กรุงเทพมหานคร: ข้าวฟ่าง, 2560.

Hoy, Wayne K. & Cecil, Masker G., Educational Administration Theory: Research, and

Practice, (New York: McGraw – Hill Inc, 1996.