ความต้องการจำเป็นในการบริหารวิชาการโรงเรียนในเขตพื้ นที่ ตำบลตลาดเกรียบ อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ตามแนวคิดคุณค่าอัตลักษณ์ชุมชน

Main Article Content

คมเดช ธนาธิษณ์
ธีรภัทร กุโลภาส

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความต้องการจำเป็นของการบริหารวิชาการโรงเรียนในเขตพื้นที่ตำบลตลาดเกรียบ อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ตามแนวคิดคุณค่า อัตลักษณ์ชุมชน และ เพื่อนำเสนอแนวทางพัฒนาการบริหารวิชาการโรงเรียนในเขตพื้นที่ตำบลตลาดเกรียบ อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ตามแนวคิดคุณค่าอัตลักษณ์ชุมชน การวิจัยในครั้งนี้ใช้วิธีการวิจัยเชิงบรรยาย ประชากรที่ใช้ในการวิจัย โรงเรียนในเขตพื้นที่ตำบลตลาดเกรียบ อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จำนวน 2 โรงเรียน มีผู้ให้ข้อมูลทั้งหมด 39 คน ประกอบด้วย ผู้อำนวยการสถานศึกษา จำนวน 2 คน และครู จำนวน 37 คน กำหนดขนาดของตัวอย่างด้วยการใช้กลุ่มตัวอย่างทั้งสถานศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามความต้องการจำเป็นในการบริหารวิชาการโรงเรียนในเขตพื้นที่ตำบลตลาดเกรียบ อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยาตามแนวคิดคุณค่าอัตลักษณ์ชุมชน ที่มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.961 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ความต้องการจำเป็น (PNImodified)


              ผลการวิจัยพบว่า ความต้องการจำเป็นในการบริหารวิชาการโรงเรียนในเขตพื้นที่ตำบลตลาดเกรียบ อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยาตามแนวคิดคุณค่าอัตลักษณ์ชุมชน ภาพรวมมีความต้องการจำเป็น ในระดับมาก (PNImodified = 0.897) โดยการบริหารวิชาการที่มีความต้องการจำเป็นสูงสุด คือ ด้านการพัฒนาหลักสูตร (PNImodified = 0.925) รองลงมา คือ ด้านการจัดการเรียนการสอน (PNImodified = 0.916) และ ด้านการวัดและประเมินผล (PNImodified = 0.849) ตามลำดับ และแนวคิดคุณค่าอัตลักษณ์ชุมชนที่มีความต้องการจำเป็นสูงสุด คือ การตระหนักรู้คุณค่าอัตลักษณ์ชุมชน

Article Details

How to Cite
ธนาธิษณ์ ค., & กุโลภาส ธ. (2025). ความต้องการจำเป็นในการบริหารวิชาการโรงเรียนในเขตพื้ นที่ ตำบลตลาดเกรียบ อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ตามแนวคิดคุณค่าอัตลักษณ์ชุมชน. วารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ , 11(1), 272–285. สืบค้น จาก https://so05.tci-thaijo.org/index.php/Palisueksabuddhaghosa/article/view/274275
บท
บทความวิจัย

References

สำนักงานจังหวัดพระนครศรีอยุธยา. (2561). แผนพัฒนาจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

(พ.ศ.2561 - 2565).เอกสารที่ไม่ได้ตีพิมพ์, สำนักงานจังหวัดพระนครศรีอยุธยา.พระนครศรีอยุธยา,ประเทศไทย

สำนักงานเทศบาลตำบลตลาดเกรียบ. (2561). แผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ.2561 - 2565).

เอกสารที่ไม่ได้ตีพิมพ์, สำนักงานเทศบาลตำบลตลาดเกรียบ.พระนครศรีอยุธยา,ประเทศไทย

กุลิสรา จิตรชญาวณิช. (2565). การพัฒนาหลักสูตรฉบับฉับไว.

สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ฆนัท ธาตุทอง. (2550). เทคนิคการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 3).

นครปฐม: เพชรเกษมการพิมพ์.

ปรเมศร์ แก้วดุก และกาญจนา บุญส่ง. (2565). การพัฒนารูปแบบการบริหารหลักสูตรท้องถิ่นโดยใช้

ชุมชน เป็นฐานของโรงเรียนยางชุมวิทยา จังหวัดประจวบคีรีขันธ์. วารสาร มจร อุบล

ปริทรรศน์, 7(2): 1427-1442.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2550). กฎกระทรวง กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการกระจายอำนาจการบริหาร

และการจัดการศึกษา พ.ศ.2550.

https://drive.google.com/file/d/1E38aTNMEW8cN3UiGA_tv5iciUOdsOtcA/view

Tyler, Ralph W. (2006). The Steps of Curriculum Development.

https://studentsmirror.com/tyler-model-of-curriculum-development-strengths-

weaknesses/

อภิชา พุ่มพวง. (2559). ปัญหาและแนวทางการพัฒนาการบริหารงานวิชาการโรงเรียนมัธยมศึกษา

จังหวัดสมุทรปราการ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 6.

วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์

มหาวิทยาลัยบูรพา.

สุนีย์ ภู่พันธ์. (2546). แนวคิดพื้นฐานการสร้างและพัฒนาหลักสูตร. เชียงใหม่: เดอะโนว์เลจเซ็นเตอร์.

ปฏิญญา จริตไทย. (2559). การศึกษาการบริหารหลักสูตรท้องถิ่นของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดเทศบาล

นครพระนครศรีอยุธยา. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.

เพ็ญศรี จันปุ่ม. (2554). การบริหารทรัพยากรทางการศึกษาของโรงเรียนมัธยมศึกษาในเขตพื้นที่

การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1.

วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.

กิติมา ปรีดีดิลก. (2532). กระบวนการบริหารและการนิเทศการศึกษาเบื้องต้น.

กรุงเทพฯ: อักษรบัณฑิต.

ปฐวี มณีวงศ์. (2558). การบริหารแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นของสถานศึกษามัธยมศึกษาในจังหวัด

แพร่. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต การบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2550). แนวทางการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ.

กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.

พิมพ์พิชมญชุ์ สุภายอง. (2563). การพัฒนาแนวทางการส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการบริหาร

สถานศึกษาของผู้ปกครองนักเรียนโรงเรียนบ้านกลาง ตำบลแม่สลองนอก อำเภอแม่ฟ้าหลวง

จังหวัดเชียงราย.การค้นคว้าอิสระ หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.

สุระ วงศ์มา. (2548). การศึกษาสภาพการใช้หลักสูตรท้องถิ่นในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขต พื้นที่

การศึกษาอุบลราชธานี เขต 2. ปริญญานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนา

หลักสูตรและการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.

จารุกิตติ์ สิทธิยานนท์. (2559). แนวทางการพัฒนาการบริหารวิชาการของโรงเรียนมาตรฐานสากล

ตามแนวคิดพลเมืองโลกศึกษา. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ปารณทัตต์ แสนวิเศษ. (2555). การมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียน

ประถมศึกษา: การสร้างทฤษฎีจากฐานราก. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารและพัฒนาการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.