มิติความสัมพันธ์ของหลักฐานและข้อมูลเชิงประจักษ์ในการศึกษาและใช้ประโยชน์ในทางสังคมศาสตร์
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มีเป้าหมายเพื่อต้องการอธิบาย หลักฐานและข้อมูลเชิงประจักษ์ในมิติที่เชื่อมโยงเกี่ยวข้องกับการศึกษาและการใช้ประโยชน์ในทางสังคมศาสตร์ ทั้งการทำความเข้าใจถึงนิยามความหมาย ที่มา คุณสมบัติ ลักษณะและระดับความน่าเชื่อถือ ความสัมพันธ์ของหลักฐานและข้อมูลเชิงประจักษ์ที่มีต่องานวิจัยเชิงประจักษ์ในทางสังคมศาสตร์รูปแบบของการนำหลักฐานและข้อมูลเชิงประจักษ์มาใช้ประโยชน์ในทางสังคมศาสตร์ และศักยภาพและข้อจำกัดของหลักฐานและข้อมูลเชิงประจักษ์ในทางสังคมศาสตร์
Article Details
ลิขสิทธิ์
References
ความรู้และเทคนิคการใช้งานเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ Geo-informatics. (1 เมษายน 2553). ภาพถ่ายดาวเทียมจากดาวเทียม IKONOS. สืบค้นเมื่อ 2 มิถุนายน 2563, จาก https://gi4u.wordpress.com/2016/04/
เฉลิมวุฒิ สาระกิจ. (1 เมษายน 2560). กฎหมายลักษณะพยาน. สืบค้นเมื่อ 7 มิถุนายน 2563, จาก https://sites.google.com/view/chalermwut/กฎหมายลักษณะพยาน
ฟองคำ ติลกสกุลชัย. (2549).การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์: หลักการและวิธีปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: ห้างหุ่นส่วนจำกัด พรี-วัน.
มหาวิทยาลัยมหิดล. (1 มกราคม 2554). พจนานุกรมประชากรศาสตร์. สืบค้นเมื่อ 15 พฤษภาคม 2563, จาก http://www.popterms.mahidol.ac.th/Popterms/search.php)
มัชฌิมา วชิระโพธิ์, (2553). ศักยภาพและข้อจำกัดของการจัดการร่วมในโครงการจัดการพื้นที่คุ้มครอง: กรณีศึกษาเครือข่ายคณะกรรมการลุ่มน้ำแม่เตี๊ยะ-แม่แตะ อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ราชบัณฑิตยสถาน. (1 มิถุนายน 2550). ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น 1.1. สืบค้นเมื่อ 15 พฤษภาคม 2563, จาก http://www.royin.go.th/coined_word/index.php
สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน): GISTDA. (1 มิถุนายน 2560). ภาพดาวเทียม IKONOS. สืบค้นเมื่อ 2 มิถุนายน 2563, จาก https://www.gistda.or.th/main/th/node/99
Craig, Edward (2005).The Shorter Routledge Encyclopedia of Philosophy. London: Routledge.
Feldman, Richard (2001). "Evidence".In Audi, Robert. The Cambridge Dictionary of Philosophy (2nd ed.). Cambridge. London: Cambridge University Press.
Kant, Emmanuel.(1871). Critique of Pure Reason. London: Cambridge University Press.
Kuhn, Thomas S. (1970). The Structure of Scientific Revolutions (2nd ed.). Chicago: University of Chicago Press.
Melnyk, B. M., &Fineout-Overholt, E. (2005). Evidence-based practice in nursing & healthcare. Philadelphia, PA: Lippincott Williams & Wilkins.