การเสริมสร้างความเสมอภาคระหว่างหญิงชาย : ความเป็นไปได้ของการนำระบบโควตาผู้หญิงในการเมืองมาใช้ในสังคมไทย

Main Article Content

ดร.ตรีวิทย์ อัศวศิริศิลป์

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้นำเสนอความเป็นไปได้ของการนำระบบโควตาผู้หญิงในการเมืองมาใช้ในสังคมไทย เพื่อเป็นเครื่องมือทางสังคมในการเพิ่มจำนวนผู้หญิงในระบบการเมืองและการบริหาร พร้อมทั้งชี้ให้เห็นถึงข้อดีและข้อเสียของระบบโควตาผู้หญิงในการเมือง ซึ่งผู้เขียนได้สรุปว่าการสร้างความเสมอภาคของหญิงชายอย่างยั่งยืน ไม่สามารถใช้เพียงระบบโควตาผู้หญิงอย่างเดียว ต้องมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงค่านิยมของสังคมไทย โดยบทความนี้ใช้ข้อมูลบางส่วนจากการสำรวจเจตคติประชาชนต่อการนำระบบโควตาผู้หญิงมาใช้ในสังคมไทยที่จัดทำโดยศูนย์สาธารณประโยชน์ และประชาสังคม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. (2554). แผนพัฒนาสตรี. กรุงเทพฯ: สำนักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว.

กฤษณา ไวสำรวจ, และการุณยลักษณ์ พหลโยธิน. (2551). Women and Thai politics: Limited status and under representation. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยรามคำแหง, 11(2), สืบค้น 10 มิถุนายน 2554, จาก http//www.rd.ru.ac.th/journal/so_11_2/3%

จุรี วิจิตรวาทการ. (2543). องค์กรสตรีกับการเสริมสร้างการมีส่วนร่วมทางการเมืองของหญิงไทยใน กระบวนการประชาธิปไตยของรัฐ. กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

จุรี วิจิตรวาทการ. (2546). ผู้นำทางสาธารณประโยชน์ในประเทศไทย: สุธีรา วิจิตรานนท์ ทอมป์สัน.กรุงเทพฯ: ศูนย์สาธารณประโยชน์และประชาสังคม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

ฐิติรัตน์ วิชัยดิษฐ. (2549). ผู้หญิงกับการเมืองศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมทางการเมือง. (วิทยานิพนธ์เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย).

ประกาศแต่งตั้งรัฐมนตรี. (2554, 9 สิงหาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 128 ตอนพิเศษ 88ง, หน้า1. สืบค้น 25 ตุลาคม 2558, จาก http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2554/E/088/1.PDF

ประกาศสำนักทะเบียนกลาง. (2558, 1 มีนาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 132 ตอนพิเศษ 49ง, หน้า 11. สืบค้น 12 กันยายน 2558, จาก
http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2558/E/049/11.PDF

วิกิพีเดีย. (2554). สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24. สืบค้น 20 ตุลาคม 2558, จาก
https://th.wikipedia.org/wiki/สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24

ศูนย์สาธารณประโยชน์และประชาสังคม สถาบันบัณฑิตฒนบริหารศาสตร์. (2554). Methods to Increase the Number of Women in Politics with a Particular Focus on the Option of Implementing Gender Quotas in Thailand’s National and Local Elections. กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.สถาบันวิจัยบทบาทหญิงชายและการพัฒนา (Gender and Development Research Institute; GDRI). (2554). การบริหารและการเมืองระดับท้องถิ่น. สืบค้น 12 เมษายน 2558, จาก http://www.gdrif.org/articles/726

สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. (2554). สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. สืบค้น 20 ตุลาคม 2558, จาก http://www. ect.go.th

สุวิทย์ สงคราม. (2552). นโยบายและผลงานรัฐบาล พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ปี 2544 – 2548. สืบค้น 12 เมษายน 2558, จาก http://pantip.com/topic/35423782 Blumberg, Rae Lesser. (2009, February). The consequences of women’s economic empowerment vs. disempowerment: From the ‘magic potion’ for
development to the ‘four horsemen of the apocalypse’? ubmitted to UNESCO, Paris, December 2008. Presented at the UNESCO women’s studies and gender research networking conference. Bangkok.

Dollar, David., Fisman, Raymond., and Gatti, Roberta. (2001). Are women really the ‘fairer’ sex? corruption and women in government. Journal of Economic Behavior and Organization, Retrieved September 9, 2011, from http://www.worldbank.org/gender/prr/dfgpaper.pdf

Drage, Jean. (2001, June). Women in local government in Asia and the Pacific: A comparative analysis of thirteen countries. Paper presented at the Asia-Pacific Summit of Women Mayors and Councilors. Phitsanulok, Thailand.

Fallon, Kathleen M., Swiss, Liam., and Viterna, Jocelyn. (2011). Resolving the democracy paradox: Democratization and women’s legislative representation in developing nations, 1980-2009. American Sociological Review, 77(3), 380-408.

Franceschet, Susan., and Piscopo, Jennifer M. (2008). Gender quotas and women’s substantive representation: Lessons from Argentina. Politics & Gender, (4), 393-425.

International Data Encryption Algorithm (IDEA). (2010). Country overview, Quota project global database of quotas for women. Retrived September 9, 2011,from http://www.quotaproject.org/country.cfm?

Inter-Parliamentary Union (IPU). (2011). Women in National Parliaments: Situation as of 31 July 2011. Retrieved September 9, 2011, from http://www.ipu.org/wmn-e/world.htm and http://www.ipu.org/wmne/classif.htm

Jones, Mark P. (2009). Gender quotas, Electoral laws, and the election of women: Evidence from the Latin American Vanguard. Comparative Political Studies, 42(1), 56-81.

Juree Vichit-Vadakan. (2008a). A glimpse of women leaders in Thai local politics. In Kazuki Iwanaga (Ed.), Women and politics in Thailand: Continuity and change, Malaysia: NIAS Press.

Juree Vichit-Vadakan. (2008b). Women in politics and women and politics: A sociocultural analysis of the Thai context. In Kazuki Iwanaga (Ed.), Women and politics in Thailand: Continuity and change, Malaysia: NIAS Press.

King, Elizabeth M., and Andrew, D. (2001). Engendering development: Through gender equality in rights, Resources and voice. Washington, D.C. and New York: The World Bank and Oxford University Press. A World Bank Policy Research
Report.

Melander, Eric. (2005). Gender equality and intrastate armed conflict. International Studies Quarterly, 49(4), 695-714.

Paxton, Pamela., Melanie, Hughes., and Matthew, Painter. (2010). Growth in women’s political representation: A longitudinal exploration of democracy, Electoral system and gender quotas. European Journal of Political Research, (49), 25-52.

Reynolds, Andrew. (1999). Women in the legislatures and executives of the World knocking at the highest glass ceiling. World Politics, (51), 547-571.

Tripp, Aili Mari., and Alice, Kang. (2008). The global impact of quotas: On the fast track to increased female legislative representation. Comparative Political Studies, (41), 338-361.

Wikipedia. (2011). Women in Governance. Retrieved September 9, 2011, from http://en.wikipedia.org/wiki/Women_and_governance