ปัจจัยเชิงสาเหตุของการยอมรับเทคโนโลยีที่ส่งผลต่อความตั้งใจใช้รถยนต์ไฟฟ้า
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยเชิงสาเหตุของการยอมรับเทคโนโลยีที่ส่งผลต่อการยอมรับเทคโนโลยี 2) ศึกษาอิทธิพลของการยอมรับเทคโนโลยีต่อความตั้งใจใช้รถยนต์ไฟฟ้า การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ เพื่อทดสอบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุและผลลัพธ์ เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามกับประชาชนที่อยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 360 คน สถิติที่ใช้ในการสมมติฐาน ได้แก่ วิเคราะห์สมการโครงสร้าง (Structural Equation Modeling; SEM) ผลการวิจัย พบว่า 1) ความตระหนักในปัญหาสิ่งแวดล้อมมีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกกับการยอมรับเทคโนโลยี 2) พฤติกรรมการเดินทางมีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกกับการยอมรับเทคโนโลยี 3) การส่งเสริมให้เกิดการใช้รถยนต์ไฟฟ้ามีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกกับการยอมรับเทคโนโลยี 4) การยอมรับเทคโนโลยีมีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกกับความตั้งใจใช้รถยนต์ไฟฟ้า ประโยชน์จากการวิจัยนี้สามารถนำผลการศึกษาไปใช้ในการบริหารจัดการเพื่อเป็นแนวทางในการจัดการด้านการรับรู้เทคโนโลยีของรถยนต์ไฟฟ้า เพื่อที่ภาคอุตสาหกรรมหรือภาครัฐนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในการส่งเสริมการยอมรับเทคโนโลยีรถยนต์ไฟฟ้าอย่างมั่นคงและสร้างความสามารถในการแข่งขัน ซึ่งนำไปสู่ผลลัพธ์ที่ดีให้เกิดขึ้นกับองค์กรต่อไป
Article Details
References
Arthur, D. L. (2022). Global Electric Mobility Readiness Index Gemrix 2022. Retrieved April 5, 2024, from
https://www.adlittle.com/en/insights/report/global-electric-mobility-readiness-index-gemrix-2022 2022.
Bunnag, J., Kalyanamitra, K., Niyomyaht, S., & Lakkhanapichonchat, T. (2023). Kānnam nayōbāi kān songsœ̄m kānchai rotyon faifā ( EV ) pai patibat. [Policy Implementation of Electric Vehicle (EV) Promotion]. Journal of Graduate MCU KhonKaen Campus, 10(3), 187-202.
เจษฏาภรณ์ บุนนาค, กมลพร กัลยาณมิตร, สถิต นิยมญาติ และ ทัศนีย์ ลักขณาภิชนชัช. (2566). การนำนโยบายการส่งเสริมการใช้รถยนต์ไฟฟ้า (EV) ไปปฏิบัติ. วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 10(3), 187-202.
Chommanee, N. (2019). Kānpœ̄trap khāosān phāplak læ kāntatsin čhai chai bō̜rikān thanākhān ratwisāhakit nai sangkat krasūang kānkhlang. [Media Exposure, Image and Decision for Using the Services of State-owned Enterprise Banks under Ministry of Finance]. Master's Thesis, Chulalongkorn University).
หนึ่งฤทัย โฉมมณี. (2562). การเปิดรับข่าวสาร ภาพลักษณ์ และการตัดสินใจใช้บริการธนาคารรัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงการคลัง. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Cronbach, L. J. (1984). Essential of Psychology Testing. New York: Harper.
Davis, F. D., Bagozzi, R. P., & Warshaw, P. R. (1989). User Acceptance of Computer Technology : A Comparison of Two Theoretical Models. Management Science, 35 (8), 982–1003.
Dinudom, W. (2019). Kānyō̜mrap theknōlōyī læ khwāmtangčhai čha chai rotyon faifā khō̜ng phūbō̜riphōk nai Krung Thēp Mahā Nakhō̜n læ parimonthon nai prathēt Thai. [The Acceptance of Technology and the Intention to Use Electric Vehicles in the Bangkok Metropolitan Region in Thailand]. (Master's Thesis, Thammasat University).
วริษฐา ดินอุดม. (2562). การยอมรับเทคโนโลยีและความตั้งใจจะใช้รถยนต์ไฟฟ้าของผู้บริโภคในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลในประเทศไทย. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิตมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์).
Electrification Coalition. (2022). Electric Vehicles in Rural Communities: Moving Beyond the urban setting to advance transportation electrification, Washington, DC.
Energy Policy and Planning office, Ministry of Energy. (2024). Nǣothāng kān songsœ̄m yān yon faifā ( EV ) khō̜ng prathēt tām nayōbāi sāmsip @ sāmsip [Guidelines for promoting electric vehicles (EV) of the country according to policy 30@30]. Retrieved April 7, 2024, from https://www.eppo.go.th/index.php/th/.
สำนักนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน. (2564). แนวทางการส่งเสริมยานยนต์ไฟฟ้า (EV)
ของประเทศตามนโยบาย 30@30. สืบค้น 7 เมษายน 2567, จาก https://www.eppo.go.th/index.php/th/.
Hair, J., Black, W. C., Babin, B. J., & Anderson, R. E. (2010). Multivariate data analysis (7th ed.). Upper saddle River, New Jersey :Pearson Education International.
Likert R. (1967). The Human Organization: Its Management and Value. New York: McGraw-Hill company.
Nachom, K. (2022). Nayōbāi songsœ̄m kānchai EV chūai khapkhlư̄an sētthakit khō̜ng prathēt. [Policy to promote the use of EVs helps drive the country's economy]. Retrieved April 7, 2024, from https://thainews.prd.go.th/th/news/detail/.
กนิษฐา น่าชม. (2565). นโยบายส่งเสริมการใช้ EV ช่วยขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ. สืบค้น 7เมษายน 2567, จาก https://thainews.prd.go.th/th/news/detail/.
National Institute of Development Administration.(2023). Kān tranak thưng khwāmsamkhan khō̜ng panhā singwǣtlō̜m. [Awareness of the importance of environmental problems]. Retrieved April 8, 2024, from
https://www.eppo.go.th/index.php/th/.
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. (2566). การตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาสิ่งแวดล้อม. สืบค้น 8 เมษายน 2567, จาก https://futurist.nida.ac.th.
Ngernsungnoen, T. & Prabnasak, J. (2023). Kānsưksā khunnalaksana khō̜ng khrūarư̄an læ phrưttikam kāndœ̄nthāng khō̜ng prachākō̜n læ ʻōkāt nai kānchai gān rotyon faifā chumchon mư̄ang khanāt klāng nai phūmiphāk khō̜ng prathēt Thai : kō̜ranī sưksā čhangwat Khō̜n Kǣn . [A Study on Household Characteristics, Trip Behaviours, and Potential of Using Electric Vehicles in Regional Mid-Sized Cities in Thailand: A Case Study of Khon Kaen City.] In Proceeding of The 28th National Convention on Civil Engineering (21-28). Phuket.
ธนานนท์ เงินสูงเนิน และ จารุวิสข์ ปราบณศักดิ. (2566). การศึกษาคุณลักษณะของครัวเรือนและพฤติกรรมการเดินทางของประชากรและโอกาสในการใช้งาน รถยนต์ไฟฟ้าชุมชนเมืองขนาดกลางในภูมิภาคของประเทศไทย: กรณีศึกษาจังหวัดขอนแก่น. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 28 (น. 21-28). จังหวัดภูเก็ต.
Pallant, J. (2010). SPSS survival manual: A step by step guide to data analysis using SPSS. Maidenhead. Open University Press/McGraw-Hill.
Pinturong, S. (2020). Thatsanakhati læ phrưtti kan mot ʻakān talāt phư̄a singwǣtlō̜m khō̜ng phūbō̜riphōk nai prathēt Thai . [Attitude and Behavior Towards Green Marketing for Thai Consumer]. (Master's Thesis, Mahidol University).
สุนีรัตน์ ปิ่นตุรงค์.(2563). ทัศนคติและพฤติกรรมต่อการตลาดเพื่อสิ่งแวดล้อมของผู้บริโภคในประเทศไทย. (สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหิดล).
Punpisootchai, W. & Worapishet, T. (2023). Patčhai thī mī ʻitthi phon tō̜ ʻakān raprū dān kānyō̜mrap samrap theknōlōyī rotyon faifā nai prathēt Thai. [Factors influencing acceptance of electric vehicle technology in Thailand]. Journal of Marketing and Management, 10(2), 133-155.
วรัท พันธุ์พิศุทธิ์ชัย และธีรารัตน์ วรพิเชฐ. (2566). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการรับรู้ด้านการยอมรับสำหรับเทคโนโลยีรถยนต์ไฟฟ้าในประเทศไทย. วารสารวิชาการการตลาดและการจัดการมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, 10(2), 133-155.
Rovinelli, R. J., & Hambleton, R. K. (1976). On the Use of Content Specialists in the Assessment of Criterion- referenced Test Item Validity. Paper presented at the Paper presented at the annual meeting of the American Educational Research Association, San Francisco.
Rubin, A. (2012). Statistics for Evidence-based Practice and Evaluation. US: Cengage Learning.