การใช้การเรียนรู้เชิงรุกเพื่อพัฒนาความรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

Main Article Content

อาทิตยา แสงหล้า
ดุษฎี รังษีชัชวาล
เกียรติชัย สายตาคำ

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความสามารถด้านคำศัพท์ภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้การเรียนรู้เชิงรุก 2) เปรียบเทียบความสามารถด้านคำศัพท์ภาษาอังกฤษก่อนและหลัง โดยการใช้การเรียนรู้เชิงรุก  และ 3) ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีต่อการใช้การเรียนรู้เชิงรุกเพื่อพัฒนาความรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ ประชากรเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดศรีโพธาราม จังหวัดเชียงใหม่ ภาคเรียนที่ 1  ปีการศึกษา 2566 จำนวน 22 คน เครื่องมือในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และ 3) แบบสอบถามความคิดเห็นที่มีต่อการใช้การเรียนรู้เชิงรุกเพื่อพัฒนาความรู้คำศัพท์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วย ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และวิเคราะห์ความแตกต่างโดยการทดสอบค่าทีแบบไม่อิสระ (t-test Dependent) โดยใช้ t-test One Sample  ผลการวิจัย พบว่า 1) ความรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ด้วยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุกหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 และ 2) ความคิดเห็นของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุกเพื่อพัฒนาความรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษโดยรวมอยู่ในระดับมาก (equation = 4.13, equation =  0.72).

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

Dechakoopt, P., & Yindeesook, P. (2017). Kānrīanrū chœ̄ng ruk bǣp rūam phalang kap PLC phư̄a kānphatthanā. [Active learning combined with PLC for development]. Bangkok: Chulalongkorn University Press.

พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และพเยาว์ ยินดีสุข. (2561). การเรียนรู้เชิงรุกแบบรวมพลังกับ PLC เพื่อการพัฒนา. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Donbuakaeow, S. (2018). Phāsāsāt samrap khrū sō̜n phāsā ʻAngkrit. [Linguistics for English Teachers (2nd ed.)]. Bangkok: Chulalongkorn University Press.

แสงระวี ดอนแก้วบัว. (2561). ภาษาศาสตร์สำหรับครูสอนภาษาอังกฤษ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Freeman, S., Eddy, S. L., McDonough, M., Smith, M.K., Okoroafor, N., Jordt, H., & Wenderoth, M.P. (2014). Active learning increases student performance in science, engineering and mathematics. Proceedings of the National Academy of Sciences U.S.A., 111(23), 8410–8415.

Jammore, P. (2019). Kānphatthanā kitčhakam kānrīanrū dōi chai kitčhakam pen thān sœ̄m thaksa phāsā ʻAngkrit phư̄a kānsư̄sān samrap nak rīan namat yom sưksā pī thī nưng. [The Development of learning activities through activity based learning to enhance English communication skills for grade seven students]. (Master’s independent study, Naresuan University).

ปิยะนุช แจ่มหม้อ. (2563). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมเป็นฐานเสริมทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. (การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยนเรศวร).

Kaplan, R. S., & Norton, D. P. (1996). The balanced scorecard: Translating strategy into action. Boston: Harvard Business School Press.

McKinney, W. J. (2008). Teaching and Learning in the college classroom: A review of the research literature. Michigan: University of Michigan Press.

Office of the Basic Education Commission. (2019). Phrarātchabanyat kānsưksā hǣng chāt Phō̜.Sō̜. sō̜ngphanhārō̜ihoksipʻet. [National education act 2018]. Bangkok: Author.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2562). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2561. กรุงเทพฯ: ผู้แต่ง.

Office of the Secretariat of the Education Council, Ministry of Education (2019). Māttrathān kānsưksā khō̜ng chāt Phō̜.Sō̜. sō̜ngphanhārō̜ihoksipʻet. [National educational standards 2018]. Bangkok: 21 Century.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2562). มาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ.2561. กรุงเทพฯ: 21 เซ็นจูรี่.

Phattarakorn, S. (2009). Phon kānčhatkān rīanrū yāng mīchīwitchīwā thī mī tō̜ khwāmsāmāt nai kān kǣ panhā læ kānsư̄sān thāng khanittasāt khō̜ng nak rīan namat yom sưksā pī thī sī rư̄ang khwām nā čha pen. [The effects of organizing active learning on problem solving and mathematical communication abilities of mathayomsuksa III students in probability]. (Master’s thesis, Srinakharinwirot University).

สัญญา ภัทรากร. (2552). ผลการจัดการเรียนรู้อย่างมีชีวิตชีวาที่มีต่อความสามารถในการแก้ปัญหาและการสื่อสารทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง ความน่าจะเป็น. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ).

Pruatikul, S. (2014). Khunnaphāp phū rīan kœ̄t čhāk krabūankān rīanrū. [Learner quality comes from the learning process]. Journal of Education Burapha University, 6(2), 1–13.

สถาพร พฤฑฒิกุล. (2555). คุณภาพผู้เรียนเกิดจากกระบวนการเรียนรู้. วารสารบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา, 6(2), 1–13.

Wat Sri Photharam School. (2020). Rāingān kānpramœ̄n tonʻēng khō̜ng sathān sưksā pračham pī sō̜ngphanhārō̜ihoksipsī. [Educational institution self-assessment report for the year 2021]. Chiang Mai: Author.

โรงเรียนวัดศรีโพธาราม. (2564). รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ประจำปี 2564. เชียงใหม่: ผู้แต่ง.