นวัตกรรมการสื่อสาร(หนังสั้น)กับการจัดการปัญหาขยะแหล่งการท่องเที่ยวบ้านคีรีวง จังหวัดนครศรีธรรมราช

Main Article Content

ธีระ ราชาพล

บทคัดย่อ

สื่อเชิงสร้างสรรค์ รูปแบบหนังสั้นกับการจัดการขยะแหล่งท่องเที่ยวบ้านคีรีวง อ.ลานสกา จ.นครศรีธรรมราช เป็นรูปแบบการสื่อสารในการสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนท้องถิ่น การสนับสนุน กิจกรรมท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ภายใต้บริบทของการร่วมรับรู้ปัญหา ร่วมคิด และร่วมปฏิบัติชมรมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์บ้านคีรีวง อ.ลานสกา จ.นครศรีธรรมราช  โดยการวิเคราะห์เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้องในปัจจุบัน (Documentary Research) และใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth interview) จากกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 25 คน นั้น พบว่าทั้ง 3 กลุ่ม มีความต้องการสื่อสร้างสรรค์ที่เข้าถึงกลุ่มบุคคลได้ทุกเพศทุกวัย รวมทั้งช่องทางที่เผยแพร่สื่อควรเข้าถึงได้ทุกกลุ่มและได้คราวละมาก ๆ เพื่อให้ความเข้าใจไปในทิศทางเดียวกัน เช่น เฟสบุ๊ค ไลน์ ยูทูบ ใบปลิว แผ่นพับ ป้ายโฆษณา เป็นต้น และต้องการให้สื่อสร้างสรรค์ช่วยกระตุ้นจิตสำนึกของชาวบ้านในการหวงแหน รักบ้านเกิด และช่วยกันดูแลสภาพแวดล้อมให้คงอยู่ในสภาพเดิมมากที่สุด รวมไปถึงนักท่องเที่ยวในการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ เพื่อให้หมู่บ้านคีรีวง อ.ลานสกา จ.นครศรีธรรมราช  คงสภาพเดิมมากที่สุด และควรเป็นประเภทละครสั้นที่บอกวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ และประวัติความเป็นมาของหมู่บ้าน สภาพแวดล้อม ตลอดจนวิธีการจัดการขยะของหมู่บ้าน

Article Details

How to Cite
ราชาพล ธ. (2019). นวัตกรรมการสื่อสาร(หนังสั้น)กับการจัดการปัญหาขยะแหล่งการท่องเที่ยวบ้านคีรีวง จังหวัดนครศรีธรรมราช. นิเทศสยามปริทัศน์, 18(2), 176–182. สืบค้น จาก https://so05.tci-thaijo.org/index.php/commartsreviewsiamu/article/view/225531
บท
บทความวิจัย

References

ภาษาไทย
กาญจนา แก้วเทพ, กิตติ กันภัย และปาริชาต สถาปิตานนท์. (2546). มองสื่อใหม่ มองสังคมใหม่. กรุงเทพฯ: เอดิสันเพรส โปรดักส์
กิตติมา สุรสนธิ. (2541). ความรู้ทางการสื่อสาร. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เกศินี จุฑาวิจิตร. (2548). การสื่อสารเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น. พิมพ์ครั้งที่ 3 . นครปฐม: เพชรเกษมการพิมพ์
ชนิดา เพชรทองคำ และคณะ. (2554). การบริหารจัดการขยะและเทคโนโลยีที่เหมาะสมโดยการมี ส่วนร่วมของชุมชน : กรณีองค์การบริหารส่วนตำบลไร่ส้ม จังหวัดเพชรบุรี. กรุงเทพฯ : ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อม กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม.
ชัยเสฏฐ์ พรหมศรี. (2555). การใช้ภาพยนตร์เป็นสื่อการสอนสำหรับวิชาทางด้านการจัดการ. วารสารนักบริหาร ,32 (2), 53-61.
ณรงค์ สมพงษ์. (2543). สื่อสารมวลชนเพื่อการส่งเสริม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ทวีทอง หงส์ทองวิวัฒน์. (2527). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนา. กรุงเทพฯ: ศักดิ์โสภาการพิมพ์
ธนวดี บุญลือ. (2542). หลักการประชาสัมพันธ์ขั้นสูง. กรุงเทพฯ: ที.พี. พริ้นท์ จำกัด
นรมน นันทมนตรี. (2545). ยุทธวิธีการสื่อสารของผู้นำชุมชนในการพัฒนาการมีส่วนร่วมของชุมชนในการลดปริมาณขยะ กรณีศึกษา: ชุมชนสุขสันต์ 26. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์, คณะนิเทศศาสตร์ สาขานิเทศศาสตร์พัฒนาการ
บุษยา สุธีธร. (2540). พฤติกรรมการสื่อสารระหว่างบุคคล. เอกสารชุดวิชาหลักและทฤษฎีการสื่อสาร (หน่วยที่ 6, หน้า 218, 220-221). นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
ปรมะ สตะเวทิน. (2529). หลักนิเทศศาสตร์ . พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย, 14
ปาริชาติ วลัยเสถียร และคนอื่น ๆ. (2546). กระบวนการและเทคนิคการทำงานของนักพัฒนา. กรุงเทพฯ: โครงการเสริมสร้างการเรียนรู้เพื่อชุมชนเป็นสุข
พัชนี เชยจรรยา, เมตตา วิวัฒนานุกูล และถิรนันท์ อนวัชศิริวงศ์. (2541). แนวคิดหลักนิเทศศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ข้าวฟ่าง
เสถียร เชยประทับ. (2535). ศักยภาพของสื่อมวลชนในการพัฒนาประเทศ. กรุงเทพฯ: คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย
สากล สถิตวิทยานันต์. (2532). ภูมิศาสตร์ชนบท. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์
สิริวัฑฒ์ สายแดงศิริ. (2548). การจัดการสื่อสารเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนเพื่อการพัฒนาชุมชนหมู่ที่ 5 เทศบาลตำบลโคกคราม อำเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี. ปริญญานิพนธ์วารสารศาสตรมหาบัณฑิต คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สุดาวรรณ์ มีบัว และคณะ (2560) การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตชุมชนหมู่บ้านคีรีวงจากการท่องเที่ยว คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ .มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
สุวรรณี คงทอง. (2536). การมีส่วนร่วมของชุมชนในการอนุรักษ์ป่าชายเลนชุมชนในท้องที่อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง. ปริญญานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (สำเนา)
เสาวนิตย์ ยมาภัย. (2526). การสื่อสารของมนุษย์. กรุงเทพมหานคร: 68 การพิมพ์
อคิน รพีพัฒน์. (2547). การมีส่วนร่วมของประชาชนในงานพัฒนา.กรุงเทพฯ :ศูนย์การศึกษานโยบายสาธารณสุข.
อุบลรัตน์ ศิริยุวศักดิ์. (2547). สื่อมวลชนเบื้องต้น: สื่อมวลชนวัฒนธรรมและสังคม.กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2559). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (2560-2564).

ภาษาอังกฤษ
Dale, Edgar. (1969). Audio-Visual Methods in Teaching. 3 Ed. New York: The Dryden Press Holt, Rineheart and Winston. Inc
Defleur, L. Melwin. (1966). Theory of Mass Communication. Newyork: Mckay David.
Georce. C. William. (1996). Adaption and Natural Selection. Princeton University Press, 41 William Street, Princeton, New Jersey
Lazarsfeld.P.F., Menzel. H. “Mass Media And Personal Influrence”. In The Science Of Human Communication. Wibur Schramm. (ed). Newyork: Basic Book. 1983
Rogers E. M, Shoemaker and Floyd F, 1971. Communication of Innovations. New York: The Free Press, 1971
Zeman, A. (2001, July). Brain Retrieve. April, 2, 2018, from .https://doi.org/10.1093/brain/ 124.7.1263