นวนิยายเรื่อง คำสาปบริสุทธิ์ : ภาพสะท้อนแห่งการด้อยค่า

Main Article Content

ชญานุช วีรสาร

บทคัดย่อ

การสร้างสรรค์นวนิยายเรื่อง คำสาปบริสุทธิ์ เป็นนวนิยายสะท้อนเสี้ยวหนึ่งสังคมไทยจากมุมมองของผู้สร้างสรรค์ผ่านความคิดและพฤติกรรมของตัวละครเอก โดยมีประเด็นการด้อยค่า เป็นปมขัดแย้งหลักที่นำไปสู่สถานการณ์ต่าง ๆ ในเรื่อง ซึ่งผู้สร้างสรรค์มองว่า นวนิยายเรื่องนี้เป็นเพียงเครื่องมือใช้สื่อสารระหว่างผู้เขียนกับผู้อ่าน เน้นความบันเทิงเป็นหลักและมีบทบาทต่อผู้อ่านที่เป็นปัจเจกบุคคลมากกว่านำไปใช้เพื่อการแก้ปัญหาการด้อยค่าของสังคม

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

ภาษาไทย
ดวงมน จิตจำนง. (2555). วรรณกรรมกับชีวิตและสังคม. วารสารรูสมิแล, 33(1), 91-99.
ธวัช ปุณโณทก. (2527). แนวทางศึกษาวรรณกรรมปัจจุบัน. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.

ระบบออนไลน์
นพพร ประชากุล. (2554). ทำไมวรรณกรรมสะท้อนสังคมจึงแก้ปัญหาสังคมไม่ได้. เข้าถึงได้จาก http://www.thaicritic.com/?p=201
พวงชมพู ประเสริฐ. (2563). บูลลี่ ไม่ใช่เรื่องเด็กๆ ความรุนแรงที่รอวันปะทุ. เข้าถึงได้จาก https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/861456
วิทยากร เชียงกูล. (2559). การอ่านหนังสือนวนิยาย สำคัญต่อการพัฒนามนุษย์อย่างไร. เข้าถึงได้จาก https://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/639430
Ratirat Panrit. (2561). วรรณกรรมวิจารณ์. เข้าถึงได้จาก https://ratiratpanrit.blogspot.com/2018/02/cassellysencyclopedia-of-literary-1953.html
Sirapa T. (2564). 5 อันดับคำพูดที่เด็กไทยอยากและไม่อยากได้ยินที่สุดจากคนในครอบครัว. เข้าถึงได้จาก https://aboutmom.co/features/5-words-kids-need-from-family/5474