เร่ืองเล่าจากสังคม

ผู้แต่ง

  • บุญช่วย เกิดรี คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

คำสำคัญ:

จิตรกรรมร่วมสมัย / สังคม

บทคัดย่อ

โครงการวิจัยสร้างสรรค์เร่ือง “เร่ืองเล่าจากสังคม” เป็นการสร้างสรรค์ ผลงานท่ีสะท้อนเร่ืองราวของกิเลสในใจมนุษย์โดยแสดงออกผ่านสัญลักษณ์และ รูปทรงท่ีมีความหมายในเชิงเปรียบเทียบ เพ่ือเป็นการแสดงออกให้เห็นถึงภาวะ ความเงยีบงนั หดหู่ คลมุเครอืภายในจากโทษและภยัของความโลภ โกรธ หลง ตาม ทศันคตสิว่นตน ดว้ยรปูแบบผลงานจติรกรรมรว่มสมยั โดยมแีรงบนัดาลใจเบอ้ืงตน้ มาจากข่าวการเมืองไทยในช่วงปี พ.ศ. 2556 – 2557 ขา้ พเจา้ สรา้ งสรรคผ์ ลงานในเบอื้ งตน้ ดว้ ยแนวทางการสรา้ งสรรคง์ านศลิ ปะ ในรูปแบบของการหยิบยืมรูปแบบศิลปะในอดีต (Appropriation) และเลียนแบบ กรอบข่าวบนหน้าหนังสือพิมพ์ ก่อนจะคลี่คลายมาสู่งานในลักษณะเฉพาะตัวของ ข้าพเจ้าเอง โดยศึกษาข้อมูลต่างๆ จากสื่อที่น�าเสนอข่าว เช่น หนังสือพิมพ์ หรือ ส่ือออนไลน์ โดยน�าข้อมูลวิเคราะห์ ตีความ หาค่าและแทนความหมายต่างๆ อย่างละเอียดตามความคิดและความรู้สึกภายในด้วยรูปทรงเชิงสัญลักษณ์ ผลการสร้างสรรค์มีทั้งสิ้น 18 ชิ้น แบ่งผลงานเป็น 3 ระยะ ระยะที่ 1 จ�านวน 4 ชิ้น ระยะที่ 2 จ�านวน 3 ชิ้น และระยะที่ 3 จ�านวน 11 ชิ้น โดยทั้ง 3 ระยะของการสรา้งสรรคม์กีารพฒันาทางดา้นรปูทรงและคลค่ีลายทางดา้นรปูแบบ อย่างเห็นได้ชัด เป็นที่น่าพอใจส�าหรับข้าพเจ้า 

References

ชลูด นิ่มเสมอ. 2553. องค์ประกอบของศิลปะ. กรุงเทพฯ : อมรินทร์. ซาร่าห์ ซิมมอนส์. 2557. โกยา. กรุงเทพ : เดอะเกรทไฟอาร์ท จ�ากัด. เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. 2539. สังคมทุรชน : ยุทธศาสตร์ ความล่มสลายของ สังคม. กรุงเทพ : ซัคเซสมีเดีย. รสลิน กาสต์. สิงหาคม2553. FINE ART. แอ็บโพรพริเอชั่นอาร์ต(2), เดอะเกรท ไฟอาร์ท จ�ากัด. หน้า 48-53. พุทธทาส อินทปัญโญ. 2527. อริยสัจจากพระโอษฐ์ ภาคปลาย. พิมพ์ครั้งที่2. หน้า 1504. วกิพิเีดยี. สารานกุรมเสร.ี “วกิฤตการณก์ารเมอืงไทย พ.ศ. 2556–2557(ออนไลน)์”2559, ไดจ้ากth.wikipedia.org/wiki/วกิฤตการณก์ารเมอืงไทย_พ.ศ._2556–2557 สมพร รอดบุญ.“ศิลปะแอพโพรพริเคชั่น(Appropriation Art)(ออนไลน์)”2555, ได้จากเพจ CMUartcenter Chiangmai

Additional Files

เผยแพร่แล้ว

2020-01-02

ฉบับ

บท

บทความวิจัยสร้างสรรค์