การสร้างสรรค์นาฏลีลาวัฒนธรรมร่วม (อิเหนาในรูปแบบชวา – บาหลี)

ผู้แต่ง

  • รศ. ฉันทนา เอี่ยมสกุล

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้เป็นการสร้างสรรค์นาฏลีลาซึ่งเกิดจากประสบการณ์จากการได้ ศึกษานาฏศิลป์ไทย และนาฏศิลป์อินโดนีเซีย เป็นการวิจัยในรูปแบบประยุกต์ศิลป์ (Applied Art) กลุ่มวิชาศิลปกรรม มีวัตถุประสงค์เพื่อน�าความรู้ทางนาฏศิลป์ไทย มาผสมผสานกบัความรทู้างนาฏศลิปอ์นิโดนเีซยี โดยไดร้บัแรงบนัดาลใจจากการอา่น บทละคร เร่ืองดาหลังและเร่ืองอิเหนา ซ่ึงมีต้นเค้ามาจากประเทศอินโดนีเซีย แสดงให้เห็นว่าไทยและอินโดนีเซียมีความสัมพันธ์กันมาช้านาน ไม่ว่าจะเป็นเรื่อง วรรณกรรม นาฏศิลป์ และดนตรี วธิ กี ารวจิ ยั ใชว้ ธิ กี ารวจิ ยั ตามกระบวนการสรา้ งสรรค์ โดยการออกแบบทา่ร�า ขน้ึใหม่ การประพนัธเ์พลง และการออกแบบเครอ่ืงแตง่กายขน้ึมาใหม่ เพอ่ืเปน็รปูแบบ การแสดงท่ีแปลกใหม่ โดยใช้พ้ืนฐานความรู้จากการแลกเปล่ียนทางวัฒนธรรม เป็นการสร้างสรรค์นาฏลีลาวัฒนธรรมร่วมระหว่างไทยและอินโดนีเซีย ผลการวจิยัพบวา่ การศกึษาวชิานาฏศลิป์ นอกจากจะเรยีนรนู้าฏศลิปไ์ทยแลว้ กจ็ะมกีารเรยีนการสอนในหลกัสตูรนาฏศลิปอ์นิโดนเีซยีเพม่ิขน้ึ และจากการถา่ยทอด ท่าร�าให้แก่นักศึกษา พบว่าผลงานการสร้างสรรค์นาฏลีลาวัฒนธรรมร่วมนี้ เป็นชุด การแสดงสนั้ๆ ทนี่กัศกึษาสามารถปฏบิตัไิดแ้ละยงัไดร้บัความรใู้นแมท่า่พนื้ฐานของ นาฏศิลป์อินโดนีเซีย ซึ่งเกิดขึ้นจากการสร้างสรรค์นาฏลีลาวัฒนธรรมร่วม งานวิจัยเรื่องการสร้างสรรค์นาฏลีลาวัฒนธรรมร่วม (อิเหนาในรูปแบบ ชวา-บาหลี) มีจุดมุ่งหมายเพื่อเป็นประโยชน์ต่อวงการนาฏศิลป์ไทย และเพื่อเป็น การสรา้งสรรคน์าฏลลีาจากภมูปิญัญาของครหูรอืศลิปนิยคุปจัจบุนัทจ่ีะแสดงใหเ้หน็ ถึงพัฒนาการของนาฏศิลป์ไทยจากอดีตสู่ปัจจุบัน การวิจัยนี้เป็นการสร้างสรรค์นาฏลีลาซึ่งเกิดจากประสบการณ์จากการได้ ศึกษานาฏศิลป์ไทย และนาฏศิลป์อินโดนีเซีย เป็นการวิจัยในรูปแบบประยุกต์ศิลป์ (Applied Art) กลุ่มวิชาศิลปกรรม มีวัตถุประสงค์เพื่อน�าความรู้ทางนาฏศิลป์ไทย มาผสมผสานกบัความรทู้างนาฏศลิปอ์นิโดนเีซยี โดยไดร้บัแรงบนัดาลใจจากการอา่น บทละคร เร่ืองดาหลังและเร่ืองอิเหนา ซ่ึงมีต้นเค้ามาจากประเทศอินโดนีเซีย แสดงให้เห็นว่าไทยและอินโดนีเซียมีความสัมพันธ์กันมาช้านาน ไม่ว่าจะเป็นเรื่อง วรรณกรรม นาฏศิลป์ และดนตรี วธิ กี ารวจิ ยั ใชว้ ธิ กี ารวจิ ยั ตามกระบวนการสรา้ งสรรค์ โดยการออกแบบทา่ร�า ขน้ึใหม่ การประพนัธเ์พลง และการออกแบบเครอ่ืงแตง่กายขน้ึมาใหม่ เพอ่ืเปน็รปูแบบ การแสดงท่ีแปลกใหม่ โดยใช้พ้ืนฐานความรู้จากการแลกเปล่ียนทางวัฒนธรรม เป็นการสร้างสรรค์นาฏลีลาวัฒนธรรมร่วมระหว่างไทยและอินโดนีเซีย ผลการวจิยัพบวา่ การศกึษาวชิานาฏศลิป์ นอกจากจะเรยีนรนู้าฏศลิปไ์ทยแลว้ กจ็ะมกีารเรยีนการสอนในหลกัสตูรนาฏศลิปอ์นิโดนเีซยีเพม่ิขน้ึ และจากการถา่ยทอด ท่าร�าให้แก่นักศึกษา พบว่าผลงานการสร้างสรรค์นาฏลีลาวัฒนธรรมร่วมนี้ เป็นชุด การแสดงสนั้ๆ ทนี่กัศกึษาสามารถปฏบิตัไิดแ้ละยงัไดร้บัความรใู้นแมท่า่พนื้ฐานของ นาฏศิลป์อินโดนีเซีย ซึ่งเกิดขึ้นจากการสร้างสรรค์นาฏลีลาวัฒนธรรมร่วม งานวิจัยเรื่องการสร้างสรรค์นาฏลีลาวัฒนธรรมร่วม (อิเหนาในรูปแบบ ชวา-บาหลี) มีจุดมุ่งหมายเพื่อเป็นประโยชน์ต่อวงการนาฏศิลป์ไทย และเพื่อเป็น การสรา้งสรรคน์าฏลลีาจากภมูปิญัญาของครหูรอืศลิปนิยคุปจัจบุนัทจ่ีะแสดงใหเ้หน็ ถึงพัฒนาการของนาฏศิลป์ไทยจากอดีตสู่ปัจจุบัน

References

จาตรุงค์ มนตรศีาสตร.์ นาฏศลิปศ์กึษา.กรงุเทพมหานคร : อกัษรสยามการพมิพ,์ 2553. ด�ารงราชานุภาพ,สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยา. ต�านานละครอิเหนา. กรุงเทพมหานคร : ส�านักพิมพ์คลังวิทยา, 2508. นริศรานุวัดติวงศ์, สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยา. บทละครดึกด�าบรรพ์เรื่องอิเหนา. กรุงเทพมหานคร : วัฒนชัยการพิมพ์, 2505. พุทธยอดฟ้าจุฬาโลก, พระบาทสมเด็จพระ. ดาหลัง. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ รุ่งเรืองธรรม, 2499. พุทธเลิศหล้านภาลัย, พระบาทสมเด็จพระ. อิเหนา. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ ประจักษ์วิทยาการพิมพ์, 2526. Nyoman, Djayusba. Teori Tari Bali. Indonesia, 1980. Noboo, Staatsblaol. Tari Serimpi. Indonesia, 1992. SEAMEO SPAFA. Panji/Inao. Traditions in Southeast Asia. Bangkok, 2013.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-01-02

ฉบับ

บท

บทความวิจัยสร้างสรรค์