กระบวนการออกแบบและพัฒนา ชุดอุปกรณ์ส�าหรับการบริโภคข้าวเหนียว

ผู้แต่ง

  • อาชัญ นักสอน

คำสำคัญ:

ชุดอุปกรณ์ส�าหรับการบริโภคข้าวเหนียว, กระบวนการออกแบบ, อุปกรณ์ส�าหรับรับประทาน, มรดกเชิงวัฒนธรรม, การผลิตเชิงหัตถอุตสาหกรรม

บทคัดย่อ

บทความนี้รวบรวมขั้นตอนการวิจัย ออกแบบ และพัฒนาชุดอุปกรณ์ ส�าหรับการบริโภคข้าวเหนียว ซ่ึงน�าไปสู่การพัฒนาเป็นอุปกรณ์ส�าหรับการจก การจ�้า การปั้น และกระติบ ในบริบทร่วมสมัย บทความนี้ได้รวบรวม ประมวล และสรุปข้ันตอนกระบวนการในการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ เร่ิมต้ังแต่ การวเิคราะห/์สงัเคราะห์ ขอ้มลูทเี่กยี่วขอ้ง การใชก้ระบวนการออกแบบ ซงึ่ประกอบ ไปด้วย 4 ข้ันตอน คือ 1. ก�าหนดปัญหาจากการวิเคราะห์ข้อมูล (Identify) 2. การแสวงหาแนวทางใหมๆ่ (Explore) 3. การก�าหนดแนวทางทไ่ีดเ้ปน็แนวคดิใหม่ (Define) 4. การท�าให้แนวคิดใหม่เป็นรูปธรรม (Realize) ซึ่งสามารถน�ามาใช้ใน การทดสอบในขั้นสุดท้าย ชุดอุปกรณ์ในการรับประทานข้าวเหนียว ส�าหรับอาหาร เหนือและอีสานนั้น ประกอบไปด้วย “กระติบ” “จ�้า” และ “ปั้น” วัตถุประสงค์ ของการวิจัย (Design Research) มีเป้าหมายที่จะพัฒนาและออกแบบ ให้ยังคง ลักษณะเชิงวัฒนธรรมด้ังเดิมท่ีมีมายาวนาน มีความเหมาะสมต่อลักษณะเฉพาะ ของข้าวเหนียว สามารถใช้งานได้อย่างสะดวก และสามารถเข้ากับวิถีชีวิตสมัยใหม่ ผลจากการส�ารวจความคดิเหน็ดว้ยกระบวนการสนทนากลมุ่ (Focus Group) จาก ประชากรที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย สรุปได้ว่า ผลงานการวิจัยสิ่งประดิษฐ์และออกแบบ ชดุน้ี สามารถใชง้านกบัขา้วเหนยีว (ขา้วนง่ึ) ทม่ีลีกัษณะเฉพาะ ไดด้กีวา่ การใชช้อ้น สอ้ม หรอื ตะเกยีบ ในการรบัประทานส�ารบัขา้วเหนยีว ซง่ึท�าใหม้คีวามเหมาะสมกบั บรบิทในสงัคมปจัจบุนั มากกวา่การใชม้อื หรอืชอ้นสอ้ม ผลส�ารวจสะทอ้นความรสู้กึบทความนี้รวบรวมขั้นตอนการวิจัย ออกแบบ และพัฒนาชุดอุปกรณ์ ส�าหรับการบริโภคข้าวเหนียว ซ่ึงน�าไปสู่การพัฒนาเป็นอุปกรณ์ส�าหรับการจก การจ�้า การปั้น และกระติบ ในบริบทร่วมสมัย บทความนี้ได้รวบรวม ประมวล และสรุปข้ันตอนกระบวนการในการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ เร่ิมต้ังแต่ การวเิคราะห/์สงัเคราะห์ ขอ้มลูทเี่กยี่วขอ้ง การใชก้ระบวนการออกแบบ ซงึ่ประกอบ ไปด้วย 4 ข้ันตอน คือ 1. ก�าหนดปัญหาจากการวิเคราะห์ข้อมูล (Identify) 2. การแสวงหาแนวทางใหมๆ่ (Explore) 3. การก�าหนดแนวทางทไ่ีดเ้ปน็แนวคดิใหม่ (Define) 4. การท�าให้แนวคิดใหม่เป็นรูปธรรม (Realize) ซึ่งสามารถน�ามาใช้ใน การทดสอบในขั้นสุดท้าย ชุดอุปกรณ์ในการรับประทานข้าวเหนียว ส�าหรับอาหาร เหนือและอีสานนั้น ประกอบไปด้วย “กระติบ” “จ�้า” และ “ปั้น” วัตถุประสงค์ ของการวิจัย (Design Research) มีเป้าหมายที่จะพัฒนาและออกแบบ ให้ยังคง ลักษณะเชิงวัฒนธรรมด้ังเดิมท่ีมีมายาวนาน มีความเหมาะสมต่อลักษณะเฉพาะ ของข้าวเหนียว สามารถใช้งานได้อย่างสะดวก และสามารถเข้ากับวิถีชีวิตสมัยใหม่ ผลจากการส�ารวจความคดิเหน็ดว้ยกระบวนการสนทนากลมุ่ (Focus Group) จาก ประชากรที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย สรุปได้ว่า ผลงานการวิจัยสิ่งประดิษฐ์และออกแบบ ชดุน้ี สามารถใชง้านกบัขา้วเหนยีว (ขา้วนง่ึ) ทม่ีลีกัษณะเฉพาะ ไดด้กีวา่ การใชช้อ้น สอ้ม หรอื ตะเกยีบ ในการรบัประทานส�ารบัขา้วเหนยีว ซง่ึท�าใหม้คีวามเหมาะสมกบั บรบิทในสงัคมปจัจบุนั มากกวา่การใชม้อื หรอืชอ้นสอ้ม ผลส�ารวจสะทอ้นความรสู้สึกของกลุ่มเป้าหมาย ต่อรูปแบบของผลิตภัณฑ์โดยรวมท่ีให้ความทันสมัย แต่ยังคง อัตลักษณ์ของไทย ซึ่งเมื่อน�ามาใช้ในร้านอาหารที่มีการจัดแต่ง เพื่อวางต�าแหน่ง ผลิตภัณฑ์ในกลุ่มบน (สินค้าราคาสูง) สามารถยกระดับต�าแหน่งสินค้า (Product Positioning) ขึ้นมาได้

References

กมลทิพย์ จ่างกมล. (2545). อาหาร : การสร้างมาตรฐานในการกินกับอัตลักษณ์ ทางชนชั้น. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชามานุษยวิทยา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. โขมสี แสนจติต.์ (2555). รอ่งรอยขา้วในภาคตะวนัออกเฉยีงเหนอืของประเทศไทย. เอกสารรวมบทความหลังการประชุมวิชาการระดับชาติ “อุบลวัฒนธรรม ครั้งที่1 คน ค้า ข้าว ในลุ่มน�้าโขง”. เชียงใหม่: แม็กซ์พริ้นติ้ง, 411-429. จติ ผลญิ. (2554). “อาหารไทยตดิโหวตอนัดบัหนงึ่ของโลก โอกาสของผปู้ระกอบการ ทง้ั ในและตา่ งประเทศ.” อตุสาหกรรมสาร. (พฤศจกิายน-ธนัวาคม 2554), 19-20 เนอ้ืออ่น ขรวัทองเขยีว. (2557). “ไทยเหนอื ไทยใต้ คนเมอืง: รอ่งรอยความขดัแยง้ ระหวา่ งลา้ นนากบั สยาม”. ศลิปวฒันธรรม ปทีี่ 35 (พฤษภาคม 2557), 72-89 พาณิชย์, กระทรวง. ข้อมูลทะเบียนรายชื่อร้านอาหารในจังหวัดเชียงใหม่, www.moc.go.th. (สืบค้นเมื่อ 1 สิงหาคม 2558) รัชนีวรรณ ฉลาดพงศ์พันธ์. เจ้าของร้านเฮือนใจ๋ยอง จ.เชียงใหม่. 2558. สัมภาษณ์ 18 มกราคม 2558. วรชาติ มีชูบท. (2557). “คนเมือง”. ศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 35 (พฤษภาคม 2557), 91-97. สุจิตต์ วงษ์เทศ. (2549). พลังลาว ชาวอีสานมาจากไหน?. ศิลปวัฒนธรรม ฉบับพิเศษ. กรุงเทพฯ: มติชน. สจุติต์ วงษเ์ทศ. (2551). “สยามประเทศ”. มตชินออนไลน์ (13 ม.ิย. 2551. ปทีี่ 31 ฉบับที่ 11052) www.matichon.co.th (สืบค้นเมื่อ เมษายน 2558) อรวรรณ ศรีโสมพันธ์ และ ทัตพิชา เจริญรัตน์. (2557). “ข้าวเหนียวในประชาคม เศรษฐกจิ อาเซยี น: โอกาสหรอืขอ้จ�ากดัของไทย”. แกน่เกษตร. ขอนแกน่: คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ศิลปกรรมสาร 133
อาชัญ นักสอน. (2558). ศิลปะการออกแบบหัตถอุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ: บ.ทริปเพิ้ลกรุ๊ป จ�ากัด. “อตุสาหกรรมสรา้งสรรคไ์ทยสอู่าเซยีน...พลงัขบัเคลอื่นเศรษฐกจิยคุใหม”่. (2557). กระแสทรรศน ์ (ฉบบัที่ 2486). https://www.kasikornresearch.com/ TH/K-EconAnalysis/Pages/View Summary.aspx?docid=32570 (สืบค้นเมื่อ 5 เมษายน 2558)

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-01-02

ฉบับ

บท

บทความวิจัยสร้างสรรค์