แนวทางศึกษางานประติมากรรมปูนปั้นเทวดา วัดเจ็ดยอด ส�าหรับน�าไปประกอบสร้าง จินตนาการเครื่องแต่งกายเพื่อการแสดง

ผู้แต่ง

  • ปรีดา บุญยรัตน์

บทคัดย่อ

จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ บ่งบอกถึงร่องรอยของสิ่งปลูกสร้างที่ หลงเหลือให้เห็นถึงปัจจุบันล้วนเป็นส่ิงท่ีมีคุณค่าควรแก่การศึกษาถึงภูมิปัญญา ของบรรพชน การที่ได้เห็นได้สัมผัสประติมากรรมปูนปั้นรูปเทวดาประดับตกแต่ง วิหารเจดีย์วัดเจ็ดยอดในเมืองเชียงใหม่ เสมือนหน่ึงเป็นกงล้อท่ีพาหมุนกลับไป ใหเ้หน็ภาพในอดตี มอีทิธพิลน�าพาใหเ้กดิแนวทางการศกึษาเพอ่ืน�าไปปรบัประยกุต์ ประกอบสรา้งจนิตนาการ เครอื่งแตง่กายส�าหรบัการแสดงและท�าใหเ้กดิแนวคดิวา่จะ สามารถกอ่ใหเ้กดิประโยชนส์�าหรบัสายงานอน่ืๆ ทจ่ีะสรา้งสรรคง์านตามความถนดั และสนใจของแต่ละบุคคลในด้านอื่นๆ หากได้มาศึกษาต่อไป

References

จุลจักร โนพันธุ์. (2525). ขุมทรัพย์ทางปัญญาเรื่องอัญมณี. กรุงเทพฯ: ไม่ปรากฎส�านักพิมพ์. มารตุน ์อมัรานนท.์ (2526). ศลิปสถาปตัยกรรมวดัเจด็ยอด (มหาโพธาราม) ศิลปะยุคทองของล้านนา. เชียงใหม่: โครงการศึกษาวิจัย ศิลปสถาปัตยกรรมล้านนา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. รจันา นยิมะจนัทร.์ (2531). เครอ่ืงประดบัเทวดาปนูปน้ัวดัเจด็ยอด.เชยีงใหม:่ ภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. สรัสวดี อ๋องสกุล. (2525). ประวัติศาสตร์ล้านนา. กรุงเทพฯ: อมรินทร์. เสถียร โกเศศ. (2509). เล่าเรื่องในไตรภูมิ. กรุงเทพฯ: ไม่ปรากฏส�านักพิมพ์.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-01-03

ฉบับ

บท

บทความวิจัยสร้างสรรค์