ประจักษภาพและการอ่านเข้าใจ ของแบบตัวพิมพ์ไทยเสมือนโรมัน

ผู้แต่ง

  • รัชภูมิ ปัญส่งเสริม คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

คำสำคัญ:

ประจักษภาพ; การอ่านเข้าใจ; ตัวพิมพ์; แบบตัวพิมพ์; แบบตัวพิมพ์ ไทยเสมือนโรมัน; ศิลปะการใช้ตัวพิมพ์

บทคัดย่อ

งานวจิยัเรอื่งนเี้กดิจากแนวคดิเชงิวพิากษต์อ่ปรากฏการณแ์ละสถานการณ์ ของการใช้แบบตัวพิมพ์ไทยเสมือนโรมันในสื่อต่างๆ ของไทยในปัจจุบัน ซึ่งคาดว่า จะส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพทางการอ่านของคนไทย โดยด�าเนินการศึกษาใน 4 ประเด็นหลักคือ การส�ารวจสถานะองค์ความรู้เกี่ยวกับการศึกษาประจักษภาพ และการอา่นเขา้ใจของแบบตวัพมิพไ์ทยเสมอืนโรมนั, การทดสอบประจกัษภาพและ การอา่นเขา้ใจของแบบตวัพมิพไ์ทยเสมอืนโรมนั เปรยีบเทยีบกบัตวัพมิพไ์ทยแบบหลกั ตามมาตรฐานโครงสร้างตัวอักษรไทย, การหาความพึงพอใจทางการอ่านของแบบ ตัวพิมพ์ไทยเสมือนโรมันท่ีถูกใช้ในส่ือส่ิงพิมพ์-บรรจุภัณฑ์, และการหาแนวทางท่ี เหมาะสมในการใช้แบบตัวพิมพ์ไทยส�าหรับสื่อสิ่งพิมพ์-บรรจุภัณฑ์ของไทย ผลการวิจัย; สถานะองค์ความรู้เกี่ยวกับอิทธิพลที่มีต่อการน�าตัวพิมพ์ไทย เสมือนโรมันไปใช้งานได้ 4 ประเด็น ดังนี้ 1) ความรู้สึกว่าทันสมัยและการนิยมใช้ ตามกัน, 2) ข้อก�าหนดและอิทธิพลทางธุรกิจ, 3) จงใจใช้เพ่ือไม่อยากให้อ่าน เป็นการอ�าพรางข้อมูลต่อผู้บริโภค, และ 4) แนวคิดหัวก้าวหน้าและความเช่ือ; ผลการทดสอบ ประจักษภาพและการอ่านเข้าใจของแบบตัวพิมพ์ไทยเสมือนโรมัน เปรียบเทียบกับตัวพิมพ์ไทยแบบหลักตามมาตรฐานโครงสร้างตัวอักษรไทย ในภาพรวมพบวา่ แบบตวัพมิพไ์ทยเสมอืนโรมนัมปีระสทิธภิาพทางการอา่นนอ้ยกวา่ แบบตัวพิมพ์ไทยมาตรฐานแบบหลัก; ผลการหาความพึงพอใจทางการอ่านของ แบบตัวพิมพ์ไทยเสมือนโรมันที่ถูกใช้ในสื่อสิ่งพิมพ์-บรรจุภัณฑ์ พบว่า การใช้แบบ ตัวพิมพ์ไทยแบบหลักยังคงเป็นที่ต้องการส�าหรับการอ่านมากกว่าแบบตัวพิมพ์ ไทยเสมือนโรมันส�าหรับการใช้ในสื่อสิ่งพิมพ์-บรรจุภัณฑ์; และผลการหาแนวทางที่ เหมาะสมในการใช้แบบตัวพิมพ์ไทยส�าหรับสื่อสิ่งพิมพ์-บรรจุภัณฑ์ของไทย พบว่า ในแงข่องการออกแบบ/สอ่ืสารมวลชน ควรมกีารใหค้วามรทู้ถ่ีกูตอ้งตอ่ผใู้ชต้วัพมิพ์ และนักออกแบบ รวมไปถึงการปลูกฝังจริยธรรมทางการออกแบบ ในแง่ของ การคุ้มครองผู้บริโภค ผู้บริโภคควรมีการร้องเรียนและมองเป็นปัญหาของส่วนรวม ควรมกีารปรบัดา้นเนอ้ืหาและภาษาเพอ่ืใหผ้บู้รโิภคอา่นเขา้ใจงา่ยและกระชบั สว่น ในแง่ของกฎหมาย เป็นเร่ืองท่ีแก้ไขได้ยาก หากจะมีการปรับปรุงกฎหมายหรือ ใช้กฎหมายใหม่เกี่ยวกับเรื่องนี้ ต้องมีหลักฐานที่รับรองว่าการใช้แบบตัวพิมพ์ไทย เสมือนโรมันส่งผลเสียต่อผู้อ่านอย่างชัดเจน
Legibility

References

ประชา สวุรีานนท.์ 2545. แกะรอยตวัพมิพไ์ทย. กรงุเทพฯ: เอสซ ีแมทบอกซ.์ ____________. 2557. ตวัพมิพก์บัอกัษรลอกหรอืทำงเลอืกใหม่. [ออนไลน]์. เขา้ถงึไดจ้าก: http://www.sarakadee.com/feature/2002/09/ thaifont_2.htm [วันที่เข้าถึง 13 ธันวาคม 2557]. ปรญิญาเอกสาขาการสอ่ืสาร มหาวทิยาลยันเรศวร. 2557. แนวคดิทฤษฎกีลมุ่ สื่อสำรเชิงวัฒนธรรม (cultural Communication). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก:http://phdcommunication.wordpress.com/ 2013/02/28/แนวคดิทฤษฎกีลมุ่สอ่ืสาร/[วนัทเ่ีขา้ถงึ 13 ธนัวาคม 2557]. ราชบัณฑิตยสถาน. 2540. มำตรฐำนโครงสร้ำงตัวอักษรไทย. กรุงเทพฯ: อรุณการพิมพ์. รัชภูมิ ปัญส่งเสริม. 2555. “ข้อสังเกตในการใช้แบบตัวพิมพ์ไทยเสมือนโรมัน: เอกลกัษณแ์ละความชดัเจนทห่ีายไป.” วำรสำรมนษุยศำสตร์. 19 (1), 113-145. ____________. 2556. “ประจักษภาพและการอ่านเข้าใจ: รากฐานของ ศิลปะการใช้ตัวพิมพ์.” ศิลปกรรมสำร. 8 (1), 128-148. ศรีศักร วัลลิโภดม. 2556. “ต่างชาตินิยมหรือชาตินิยม: การกล่าวหาเชิง วาทกรรมในสังคมไทย.” วำรสำรวิถีสังคมมนุษย์. 1 (พิเศษ). 1-9. อนุทิน วงศ์สรรคกร. 2550. กรณีตัว K และ ห หีบ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://anuthin.org/2007/02/11/กรณีตัว-k-และ-ห-หีบ/ [วันที่เข้าถึง 13 ธันวาคม 2557]. MacThai. 2557. ระบบภำษำไทยใหมใ่น iOS 7.1 ยกเลกิใชฟ้อนตภ์ำษำไทย แบบไม่มีหัวแล้ว. เข้าถึงได้จาก:http://www.macthai.com/ 2014/03/11/ios-7-1-thai-font/ [วันที่เข้าถึง 13 ธันวาคม 2557]. Tinker, Miles A..1969. Legibility of Print . (3rd ed.). Iowa: Iowa State University.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-01-03

ฉบับ

บท

บทความวิจัยสร้างสรรค์