แรงบันดาลใจจากโจมอง

ผู้แต่ง

  • วีระจักร์ สุเอียนทรเมธี คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

คำสำคัญ:

: เครอ่ืงดนิเผาโจมอง, ลายเชอืกทาบ, โจมองเนสก,์ เครอ่ืงดนิเผาเชงิภาชนะ, ประติมากรรมดินเผา

บทคัดย่อ

เครื่องดินเผาโจมอง มีเอกลักษณ์โดดเด่น คือ ลักษณะปั้นเป็นลวดลาย เปลวเพลิงหรือขดงูตามขอบปากภาชนะ ขดไขว้อย่างอิสระคล้ายงานนามธรรม คุณลักษณ์อันโดดเด่นและมีเสน่ห์ของเครื่องดินเผาโจมองนี้ จึงเป็นแรงบันดาลใจ หรือคุณูปการต่อการสร้างสรรค์งานศิลปะเซรามิกหรือเครื่องดินเผาในยุคร่วมสมัย โดยเฉพาะในญปี่นุ่ จนเกดิเปน็รปูแบบทเี่รยีกวา่ Jomonesques style อนัหมายถงึ ลักษณะแบบอย่างศิลปะเคร่ืองดินเผาท่ีมีต้นเค้าท่ีมาแรงดลใจ ประทับใจจาก แบบลักษณ์ เทคนิคของเครื่องดินเผาโจมอง เป็นปฐมต้นคิด แนวงานเครื่องดินเผาแบบ Jomonesques ในปัจจุบัน มีปรากฏลักษณะ การสร้างงานได้เป็น 2 แบบ คือ 1) แบบเชิงประเพณีสืบสาน และ 2) แบบร่วมสมัย ซึ่งมีการสร้างใน 2 ลักษณะ คือ ก) แบบเครอื่งดนิเผาเชงิภาชนะ (ceramic pottery) จะเปน็การสรา้งสรรค์ งานในแบบเครื่องดินเผาเชิงภาชนะที่น�าลักษณะรูปทรงหรือทัศนมูลฐานโดดเด่น หรือที่น่าสนใจบางประการของ โจมองในแต่ละยุคเลือกน�ามาสร้างสรรค์โดยผนวก แนวคิดร่วมสมัยของผู้สร้าง ข) แบบศิลปกรรม (ceramic sculpture) เป็นรูปแบบการสร้างสรรค์ ที่ผู้สร้างมีอิสระอย่างเต็มที่ในการตีความหรือขยายความจากลักษณะแบบลักษณ์ ที่โดดเด่นทั้งหลายจากโจมองมาสร้างงานแบบใหม่ๆ ในเชิงประติมากรรมดินเผา ซึ่งไม่จ�ากัดเทคนิควิธีการใดใดทั้งสิ้น

References

Mason, Penelope E. History of Japanese Art. China : Pearson Prentice Hall. 2005. Mikami, Tsugio. The Art of Japanese Ceramics. Tokyo : Heibansha. 1968. Miller, Roy Andrew. Japanese Ceramics. Tokyo : Toto shuppan. 1963. www.metmuseum.org/toah/hd/jomo/hd_jomo.htm (Accessed on 19th March 2015) www.earlywomenmasters.net/masters/jomon (Accessed on 19th March 2015) www.pinterest.com (Accessed on 19th March 2015) www.claystudio.org/shimaoka-movie (Accessed on 19th March 2015) www.nihonbijutsu-club.com/nishimoto (Accessed on 19th March 2015)

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-01-03

ฉบับ

บท

บทความวิจัยสร้างสรรค์