การเชิดสิงโต : ศิลปะการแสดงวัฒนธรรมย่านฝั่งธนบุรี

ผู้แต่ง

  • พรพิพัฒณ์ ราชกิจกำธร สาขาวิชาศิลปะการแสดง คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

คำสำคัญ:

เชิดสิงโต, ศิลปะการแสดง, ย่านฝั่งธนบุร

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาที่มา รูปแบบ และองค์ประกอบของการเชิดสิงโตใน
ประเทศไทยย่านฝั่งธนบุรี จากการศึกษาพบว่า การเชิดสิงโตเข้ามาในยุคสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสิน
มหาราชแห่งกรุงธนบุรี เนื่องจากมีกลุ่มชาวจีนทางตอนใต้เข้ามาตั้งถิ่นฐานในละแวกนี้เป็นจ านวนมาก
อีกทั้งยังน าศิลปะการแสดงเชิดสิงโตมาเผยแพร่ จนเกิดเป็นคณะสิงโตขึ้นหลายคณะ และเป็น
ศิลปวัฒนธรรมที่อยู่คู่กับชาวบ้านเขตธนบุรีมาอย่างช้านาน การเชิดสิงโตย่านฝั่งธนบุรีสามารถ
แบ่งแยกตามลักษณะของการแสดงออกเป็น 3 รูปแบบ คือ การเชิดสิงโตพื้น การเชิดสิงโตต่อตัว และ
การเชิดสิงโตบนเสาดอกเหมย ผู้แสดงไม่มีการจ ากัดเพศ หรืออายุ เครื่องแต่งกายแบ่งออกเป็น
2 รูปแบบ คือ แบบชุดขน และแบบชุดต่อตัว มีอุปกรณ์ประกอบการแสดง คือ เสาดอกเหมย และเสา
ไม้ไผ่ มีตัวละครประกอบการแสดง คือ แป๊ะยิ้ม และอาซิ้ม เพื่อสร้างความตลกขบขันในการแสดง
โดยส่วนใหญ่นิยมแสดงเป็นชุดเอกเทศ เช่น การเชิดสิงโตบนเสาดอกเหมย เป็นต้น ส าหรับเครื่อง
ดนตรีที่ใช้ประกอบการแสดง เรียกว่า “วงมโหรี” ซึ่งประกอบไปด้วย กลอง แฉ และเม้ง

References

คณะกรรมการจัดงานประเพณีแห่เจ้าพ่อ - เจ้าแม่ปากนํ้าโพ. (2559). ศตวรรษแห่งศรัทธา ตรุษจีน 100 ปี สืบสานประเพณีแห่เจ้าพ่อ – เจ้าแม่ปากน้ำโพ. นครสวรรค์ : ผู้แต่ง.

โจวเซี่ยวเทียน. (2555). เปิดตำนานเทศกาลจีน [_中国节日] (ถาวร สิกขโกศล, ผู้แปล) กรุงเทพฯ : มติชน. (ต้นฉบับพิมพ์ ปี ค.ศ. 2009).

ที่นี่ตลาดพลู. (2564). คณะสิงโตในอดีต. สืบค้น 15 มีนาคม 2565, จาก https://www. facebook.com/groups/1617659498560653/posts/2877009529292304/.

ธนิต อยู่โพธิ์. (2523). เครื่องดนตรีไทยพร้อมด้วยตำ�นานการผสมวงมโหรี ปี่พาทย์และเครื่องสาย. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร.

ธัญธัช วิภัติภูมิประเทศ. (2558). การเชิดสิงโต : การแสดงในวัฒนธรรมจีนและกีฬาระดับนานาชาติ. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย, 7(2) กรกฎาคม - ธันวาคม, 81 - 93. สืบค้น http://rdi.rmutsv.ac.th/rmutsvrj/download/year7/ issue2-2558/download.php?file=81.pdf.

ปัทมา วัฒนบุญญา และคณะ. (2561). ศิลปะการแสดงฝั่งธนบุรีในศตวรรษที่ 21 (กรณีศึกษาเขตธนบุรี) [แผ่นพับ]. กรุงเทพฯ : ผู้แต่ง.

พชรวัฒน์ เส้นทอง และ มีเดียน จูมะ. (2564). การจัดการคณะสิงโตและสร้างเครือข่ายทางวัฒนธรรมไทย - จีน เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์. วารสารบันฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์, 15(2) พฤษภาคม - สิงหาคม, 80 - 95. สืบค้น https://so02.tci-thaijo.org/index.php/JournalGrad VRU/article/download/249584/168290/.

วัชร วัชรพล และ จิตสุภา วัชรพล (ผู้อำนวยการผลิต). (2557). ศาสตร์ตราช่าง [รายการ โทรทัศน์]. กรุงเทพฯ : สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยรัฐทีวี.

เสี่ยวจิว. (2556). ที่เรียกว่าแต้จิ๋ว. กรุงเทพฯ : มติชน.

Anonymous. (2558). เหมยฮวาจวง - เสาดอกเหมย. สืบค้น 25 มีนาคม 2565, จาก http:// wulinstreet.blogspot.com/2015/08/blog-post.html.

OKnation. (2550). มาดูหัวสิงโตแบบต่าง ๆ กันดีกว่า. สืบค้น 22 มีนาคม 2565, จาก http:// oknation.nationtv.tv/blog/print.php?id=35316.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-12-30 — Updated on 2022-12-30

Versions

ฉบับ

บท

บทความทางวิชาการ