คุมิฮิโมะ : การสื่อสารความหมายผ่านเกลียวเชือกสู่การฟื้นฟูงานหัตถศิลป์ญี่ปุ่น ในบริบทสังคมสมัยใหม่

Kumihimo: The Communication through Cords and the Revitalization of Japanese Craftmanship in a Modern Society

ผู้แต่ง

  • วราภรณ์ ชลอสันติสกุล คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ / Department of Industrial and Innovation Design, Faculty of Architecture and Design, Rajamangala University of Technology Rattanakosin

คำสำคัญ:

คุมิฮิโมะ, ความหมายใหม่, เกลียวเชือก, หัตถศิลป์ญี่ปุ่น

บทคัดย่อ

            บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิดการใช้เชือกในวัฒนธรรมญี่ปุ่น ผ่านรูปแบบการถักเชือกในงานหัตถกรรม คุมิฮิโมะ (Kumihimo) ด้วยการส่งผ่านคติที่แฝงมากับความเชื่อในเทพเจ้าของชินโต (Shinto) รวมถึงศึกษากระบวนการ และวิวัฒนาการของงานถักเชือกที่แปรเปลี่ยนไปตามยุคสมัย การสื่อสารความหมายและการถูกลดทอนคุณค่าลงเป็นเพียงสายเชือกธรรมดาเมื่อเข้าสู่สังคมในยุคสมัยใหม่ที่ต้องพึ่งพาเครื่องจักรและเทคโนโลยี ไปสู่สภาวะโหยหาอดีต (Nostalgia) ในสังคมญี่ปุ่น และการหวนกลับไปสู่ธรรมชาติ ความเชื่อแบบดั้งเดิม และการสร้างงานหัตถกรรมให้เป็นงานหัตถศิลป์อันมีคุณค่าทางศิลปะ ในบริบทสังคมสมัยใหม่ ด้วยการปรับเปลี่ยนภาพลักษณ์ให้เหมาะสมต่อการใช้งานเกิดผลิตภัณฑ์ใหม่ และการสื่อสารความหมายใหม่ เป็นความงามในพื้นที่ใหม่แต่ยังคงมีคติที่เชื่อมโยงสัมพันธ์กลับไปสู่คุณค่าทางธรรมชาติ ความเคารพ และความเชื่อ เกิดความสัมพันธ์เชื่อมโยง ในรูปแบบของ มุสึบิ (Musubi) อันมีความหมายถึง การเกิดขึ้น เชื่อมโยม สัมพันธ์ ขาดหายไป และเกิดการเชื่อมโยงขึ้นใหม่ เป็นความสัมพันธ์ระหว่างกัน วนเวียนไม่รู้จบ

คำสำคัญ : คุมิฮิโมะ/ ความหมายใหม่/ เกลียวเชือก/ หัตถศิลป์ญี่ปุ่น

References

กำจร สุนพงษ์ศรี. (2551). ประวัติศาสตร์ศิลปะญี่ปุ่น. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

จาร์เวส, เจ.เจ. (2545). ชำเลืองแลศิลปะญี่ปุ่น (กิติมา อมรทัต, ผู้แปล). กรมวิชาการ.

ปัญญา เทพสิงห์. (2548). ศิลปะเอเชีย. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. (2522). โคจิกิตำนานเก่าแก่ที่สุดของญี่ปุ่น. เจริญผล.

อรรถยา สุวรรณระดา. (2553). เรียนรู้ตำนานเทพญี่ปุ่นจากวรรณกรรมโคะจิกิ. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Akibatan. (2016). มุซุบินั้นสำคัญไฉน มารู้จักศิลปะการทอเส้นไหมจากเรื่อง Your Name กันเถอะ. http://akibatan.com/2016/11/talk-about-kumihimo-japanese-braiding-from-kimi-no-na-wa/

Domyo. (2018). 組紐の歴史. http://domyo.co.jp/history/

Hidaka, K. (2003). 日本美術のことば案内. Tokyo: 株式会社小学館

Japan Traditional Crafts Aoyama Square. (2018). TRADITIONAL CRAFTS. http://kougeihin.jp.e.oo.hp.transer.com/item/0304/

Kinoko, H. (2022). Rope Artist Hajime Kinoko. http://shibari.jp/index.html

Konuma, O. and Futagawa, T. (2017).「君の名は。」で注文殺到 映画と同じ「組紐」欲しい. https://style.nikkei.com/article/DGXMZO12352000R30C17A1000000

Kumi, O. (2017). สนุกไปกับโชว์นินจาสุดมันส์ที่พิพิธภัณฑ์นินจาอิกะริว (โรส รสริน, ผู้แปล). https://matcha-jp.com/th/4177

Miharu. (2012). Shimenawa. https://www.marumura.com/shimenawa/

Nagaura, C. (2016). 手軽につくれる水引アレンジ Book2. Tokyo: Isuzuya.

Raskin-Schmitz, J. (1992). Japanese Kumihimo, the Art of Silk Braiding. http://www.englisch.kumihimo.de/html/history.html

Seiko, F. (1965). 図解捕縄術 /Zukai torinawajutsu. Tokyo: 井上図書株式会社

Uchino, T. (2016). しあわせを結ぶ 贈る、飾る、水引こもの. Tokyo: 文化出版局

Uozumi T., Yasuda S., Chottikampon K., Mathurosemontri S., Goto A., Hamada H. (2016). Study on Braiding Skills by Comparing Between Expert and Non-experts with Eye’s Movement Measurement. In Duffy V. (Ed), Digital Human Modeling: Applications in Health, Safety, Ergonomics and Risk Management. DHM 2016. Lecture Notes in Computer Science, vol 9745. (pp. 132-139). Canada: Springer.

Walkerplus. (2018).【京都らしい体験】伝統工芸を体験してみました。京都組紐. https://www.walkerplus.com/article/103055/

Yamada, H. (2017). 伝統工芸ってなに?. Tokyo: 美術書出版株式会社芸艸堂

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-12-31 — Updated on 2023-12-31

ฉบับ

บท

บทความทางวิชาการ