การศึกษาพฤติกรรมการจัดการขยะและน้ำเสียในครัวเรือนของประชาชนตำบลบางนางลี่ อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม
DOI:
https://doi.org/10.53848/irdssru.v3i1.212722คำสำคัญ:
ขยะชุมชน/การจัดการขยะในครัวเรือน/ การจัดการน้ำเสียในครัวเรือนบทคัดย่อ
องค์การบริหารส่วนตำบลบางนางลี่อำเภออัมพวาจังหวัดสมุทรสงครามมีนโยบายให้ชุมชนกำจัดขยะมูลฝอยเองและมุ่งให้ประชาชนมีจิตสำนึกในการรักษาความสะอาดในแต่ละครัวเรือนจึงกำหนดนโยบายไม่ให้มีถังขยะหรือระบบกำจัดขยะมูลฝอยในพื้นที่การศึกษาพฤติกรรมการจัดการขยะและน้ำเสียในครัวเรือนของประชาชนตำบลบางนางลี่ครั้งนี้ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการรวบรวมข้อมลูจากกล่มุตวัอย่างครวัเรอืนจำนวน306ครวัเรอืนโดยผ้ตูอบแบบสอบถามของแต่ละครวัเรอืนเป็นหญงิและชายจำนวนใกล้เคียงกันมีอายุโดยเฉลี่ย46.39ปีส่วนมากมีวุฒิการศึกษาในระดับประถมศึกษาทั้งหมดนับถือศาสนาพุทธผลการศึกษาที่สำคัญพบว่าในแต่ละครัวเรือนมีกิจกรรมทำให้เกิดขยะทุกชนิดมีน้ำหนักรวมกันโดยเฉลี่ย1931.37กรัม/ครัวเรือน/วันขยะเปียกที่พบมากที่สุดได้แก่เศษอาหารเศษข้าวเศษขนมขยะรีไซเคิลที่พบมากที่สุดได้แก่ขวดพลาสติกขวดแก้วกล่อง/ลังกระดาษขยะทั่วไปพบมากที่สุดได้แก่ถุงพลาสติกถุงก๊อบแก๊บสำหรับขยะอันตรายที่พบมากที่สุดได้แก่บรรจุภัณฑ์น้ำยาทำความสะอาดสุขภัณฑ์ต่างๆในส่วนของกิจกรรมที่ทำให้เกิดน้ำเสียหรือน้ำทิ้งของครัวเรือนนั้นพบว่าเป็นกิจกรรมการหุงต้มประกอบอาหารการซักล้างทำความสะอาดเสื้อผ้าการล้างถ้วยชามและใช้ในห้องน้ำห้องส้วมมีจำนวนใกล้เคียงกันทุกกิจกรรมในด้านการจัดการขยะของครัวเรือนนั้นพบว่าครัวเรือนร้อยละ79.1ได้ดำเนินการลดปริมาณขยะในครัวเรือนเช่นใช้วัสดุหลายๆครั้งก่อนทิ้งใช้ถุงผ้าแทนถุงพลาสติกใช้ปุ๋ยคอกแทนปุ๋ยเคมีครวัเรอืนร้อยละ80มีถังขยะประจำบ้านและร้อยละ71.9ทำการคัดแยกขยะนำขยะไปใช้ประโยชน์เช่นนำขยะรีไซเคิลไปขายนำขยะเปียกไปทำปุ๋ยหมักสำหรับขยะอื่นๆครัวเรือนร้อยละ51.0นำไปกำจัดโดยการเผาไฟร้อยละ29.4นำไปทงิ้ถงัขยะของอบต.อื่นๆที่อยู่ใกล้บ้านและร้อยละ13.0นำไปฝังกลบตามลำดับสำหรับน้ำเสียหรือน้ำทิ้งนั้นครัวเรือนประมาณร้อยละ60ทิ้งลงในท่อระบายน้ำหรือถังพักน้ำทิ้งของครัวเรือนและอีกประมาณร้อยละ30ทิ้งลงใต้ถุนบ้านของตนเองสำหรับปัญหาจากขยะของครัวเรือนนั้นพบปัญหาการแพร่ระบาดของสัตว์ที่เป็นพาหะนำโรคเช่นแมลงวันแมลงสาบและหนูมากที่สุดรองลงมาเป็นปัญหากลิ่นเหม็นรบกวนและสกปรกเลอะเทอะตามลำดับส่วนปัญหาที่เกิดจากน้ำทิ้งของครัวเรือนพบปัญหาการแพร่ระบาดของยุงมากที่สุดรองลงมาเป็นปัญหากลิ่นเหม็นรบกวนและปัญหาน้ำขังแฉะสกปรกเลอะเทอะตามลำดับ
References
สถานการณ์มลพิษของประเทศไทย พ.ศ. 2553.
สืบค้นเมื่อ 19 สิงหาคม 2554 จาก http://
www.pcd.go.th
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม. 2545.
การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม พิมพ์ครั้งที 6.
กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์ดอกเบี้ย.
เทวัญ พัฒนาพงศักดิ์. 2540. การแยกมูลฝอย
การจัดการมูลฝอยที่แยกแล้วในแหล่งกำ เนิด
ต่างๆในเขตเทศบาลเชียงใหม่. เชียงใหม่ :
วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ปราณี ไพบูลย์สมบัติ. 2546. ชนิดและปริมาณ
ขยะและพฤติกรรมการทิ้งขยะของนักท่องเที่ยว
และผ้ปู ระกอบการในอทุ ยานแห่งชาตเิ ขาใหญ่.
กรุงทพมหานคร : วิทยานิพนธ์ปริญญาโท,
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
พัชรี หอวิจิตร. 2529. การจัดการขยะมูลฝอย.
ขอนแก่น : คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
พัฒนา มูลพฤกษ์. 2539. อนามัยสิ่งแวดล้อม.
กรุงเทพมหานคร : ห.จ.ก. เอ็น เอส แอล พริ้นติ้ง.
ยุพดี เสตพรรณ. 2544. ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม.
กรุงเทพฯ : พิศิษฐการพิมพ์.
สุธีรา ตุลยเสถียร,โกศล วงศ์สวรรค์. 2544. มลพิษ
สิ่งแวดล้อม ปัญหาสังคมไทย. กรุงเทพฯ :
บริษัทรวมสาสน์ (1997).
สำ นักรักษาความสะอาด. 2533. เอกสารประกอบ
การศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับขยะมูลฝอย.
กรุงเทพมหานคร.
อาณตั ิ ต๊ะปินตา. 2553. ความร้เู บอื้ งต้นเกยี่ วกบั
การจัดการขยะมูลฝอย. กรุงเทพฯ :
สำ นักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อัชรี เอกโทชุน. 2540. การศึกษาพฤติกรรมการ
ทิ้งขยะของประชาชนในเทศบาลเพชรบุรี.
กรุงเทพมหานคร : วิทยานิพนธ์ปริญญาโท,
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Jagdish C. Kuniyal, Arum P. Jain and Ardhndu S.
Shannigrahi. 2003. “Solid Waste Management
in Indain Himalayan Tourist” Treks: a case
study in and around the Valley of Flowers and
Hemkund Sahib.” Waste Management.
Volumr 23, Issue 9:807-816
Shah,K.L. 2000. Basic of Solid and Hazardous
Waste Management Technology. New Jersey:
Prentice-Hall, Inc.
Thaniya Kaosol. 2009. “Sustainable Solution
for Municipal Solid Waste Management in
Thailand.” World Academy of Science,
Engineering and Technology. 60 : 665-670.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว