รูปแบบการเรียนรู้ด้วยตนเองในการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางการท่องเที่ยวเชิง อนุรักษ์ ในพื้นที่ตำบลท่าคา อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม

ผู้แต่ง

  • อัญชลี อติแพทย์

DOI:

https://doi.org/10.53848/irdssru.v3i1.212729

คำสำคัญ:

-

บทคัดย่อ

การวิจัยเรื่อง “รูป แบบการเรียนรู้ด้วยตนเองในการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ในพื้นที่ตำ บลท่าคา อำ เภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม”มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสภาพปัญหาการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ในพื้นที่ตำบลท่าคาอำ เภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม (2) ศึกษาสาเหตุและผลกระทบของปัญหาในการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางการท่องเที่ยวในพื้นที่ตำ บลท่าคา อำ เภออัมพวา จังหวัดสมทุ รสงคราม (3)สร้างรปู แบบการเรยี นร้ดู ้วยตนเองในการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ในพื้นที่ตำ บลท่าคา อำ เภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยประยุกต์ (Applied Research) โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึกแบบกึ่งโครงสร้าง (In-depth Interview Semi-structure) โดยใช้เทคนคิการส่มุ แบบเจาะจง (Purposive Sampling) จากนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เป็นเจ้าของภาษาจำ นวน 15 คนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองจำ นวน 15 คน และผ้ให้บรกิ ารจำ นวน 30 คน รวมทงั้สนิ้ 60คน แล้ววิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา (Content Analysis)ผลการวิจัยพบว่า (1) ปัญหาหลักๆ คือ ทั้งนักท่องเที่ยวและผู้ให้บริการไม่สามารถเข้าใจซึ่งกันและกันได้ตามสาระทตี่ ้องการจะสอื่ สาร (2) สาเหตเกดิ จากผ้ให้บรกิารส่วนมากมอี ายสุ งู จำ ไม่ค่อยได้ ความร้ภูาษาองั กฤษน้อย ขาดความต่อเนื่องในการใช้ ไม่สนใจที่จะฝึกฝน อายและไม่มั่นใจผลกระทบต่อการท่องเที่ยว คือ นักท่องเที่ยวไม่ได้ข้อมูลที่ถูก-ต้อง ผู้ให้บริการขาดโอกาสในการประชาสัมพันธ์สินค้าผลิตภัณฑ์และข้อมูลที่สำ คัญๆ ของชุมชน (3) รูปแบบการเรียนรู้ด้วยตนเองในการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางการท่องเที่ยว จึงควรเป็นสื่อบทเรียนที่สามารถเรียนรู้ด้วยตนเองได้ในลักษณะของสมุดพกพาที่มีรูปภาพ คำ ศัพท์ภาษาอังกฤษเฉพาะด้านตามความต้องการของผู้ให้บริการและหน้าบนั ทกึ คำ ศพั ท์ทผี่ ้ใช้พบใหม่ แล้วหาความหมายเองโดยผ่านการฝึกอบรมการใช้ก่อนแล้วนำ ไปใช้เอง นอกจากนี้ป้ายบอกสถานที่สำ คัญๆ ของชุมชน ที่จัดทำ เป็นภาษาอังกฤษกเป็นรปู แบบการเรยีนร้สู่วนหนงึ่ ทให้ความร้แก่ผ้ให้บรกิารได้เช่นกัน

References

[1] สำนักงานภาคกลางตอนล่าง 2. 2553. จำนวนนัก-
ท่องเที่ยวจังหวัดสมุทรสงคราม. กรุงเทพฯ. การท่อง-
เที่ยวแห่งประเทศไทย.
[2] นิตย์ หทัยวลีวงศ์สุขศรี. (ม.ป.ป.) ผลกระทบจากการ
ประกอบธุรกิจท่องเที่ยวอำเภอเกาะสมุย.
[3] บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา. 2539, มกราคม - มีนาคม.
มาช่วยกันส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์กันเถิด.
จุลสารการท่องเที่ยว. 15(1), 54 - 56.
[4] ปรมะ สตะเวทิน. 2539. การสื่อสารมวลชน :
กระบวนการและทฤษฎี. กรุงเทพฯ : ภาพพิมพ์.
[5] มธุวรรณ พลวัน. 2549. ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความ
พึงพอใจของนักท่องเที่ยวต่อการจัดการด้านการท่อง-
เที่ยว : กรณีศึกษาตลาดนำ้ท่าคา ตำบลท่าคา อำเภอ
อัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม.
[6] พัชโรดม อุนสุวรรณ. 2553, 19 เมษายน.
นายกเทศมนตรีอำเภออัมพวา. สัมภาษณ์.
[7] ยุวดีนิรันดร์ตระกูล. 2544, เมษายน-มิถุนายน.
จุลสารการท่องเที่ยว. การท่องเที่ยวชุมชน. 20(2),
5 - 9.
[8] วิไลลักษณ์รัตนเพียรธัมมะ, และคณะ. 2550.
การจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชน : กรณีศึกษา-
ชุมชนท่าคา อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม.
[9] สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. 2552.
ในนโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติพ.ศ.
2551-2554. การบริหารจัดการการท่องเที่ยว.
(หน้า 29). กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการวิจัย
แห่งชาติ. สำนักพัฒนาการท่องเที่ยว. (2549).
[10] จรูญ เจือไทย. 2553, 19 เมษายน. สัมภาษณ์.
[11] Cohen, J.M. and Uphoff, N.T. 1981. Rural
Development Participation: Concept and
Measures for project Design Implementation
and Evaluation. Rural Development Commit-
tee Center for International Studies,Cornell
University.
[12] Grow. 1991. Self – directed learning model :
SSDL. n.p.. pp. 144-145.
[13] Koufman, H.F. 1949. Participation Organized
Activities in Selected Kentucky Localities.
Agricultural Experiment Station Bulletins.
March.
[14] Ruesch, J., & Bateson, G. 2009. Communica-
tion : the social matrix of psychiatry 2nd ed.
New York : Norton.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

30-08-2019

How to Cite

อติแพทย์ อ. (2019). รูปแบบการเรียนรู้ด้วยตนเองในการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางการท่องเที่ยวเชิง อนุรักษ์ ในพื้นที่ตำบลท่าคา อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 3(1), 34. https://doi.org/10.53848/irdssru.v3i1.212729