การวิเคราะห์คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนจากโจทย์ปัญหาในหนังสือเรียน คณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา

ผู้แต่ง

  • จิราพร พรายมณี

DOI:

https://doi.org/10.53848/irdssru.v3i1.212730

คำสำคัญ:

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ การวิเคราะห์ หนังสือเรียนคณิตศาสตร์

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ1) จำ แนกคำ /กลุ่มคำ /ข้อความที่ส่งเสริมให้เกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ปรากฏในหนังสือเรียนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา ของสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และสำ นักพิมพ์เอกชน 2) ศึกษาประเภทคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่สอดแทรกในโจทย์ปัญหาจากหนังสือเรียนคณิตศาสตร์ 3)ศึกษาปริมาณโจทย์ปัญหาที่สอดแทรกคุณลักษณะอันพึง-ประสงค์ จำ แนกตามระดับชั้นและสาระหลัก โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเอกสารประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นหนังสือเรียนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษาที่ได้รับอนุญาตจากกระทรวงศึกษาธิการ ตามประกาศการกำ หนดสื่อการเรียนรู้สำ หรับเลือกใช้ในสถานศึกษาตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2544 และตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น-พื้นฐานพุทธศกั ราช 2551 และเลอื กกล่มุ ตวั อย่างแบบเจาะจงจากหนังสือเรียคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 ของสำ นักพิมพ์ที่โรงเรียนนิยมใช้มาก 3 อันดับแรกซึ่งได้แก่สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สำ นักพิมพ์อักษรเจริญทัศน์ จำ กัด และสำ นักพิมพ์พัฒนาคุณภาพวิชาการจำ กัด จำ นวน 18 เล่ม เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมลู คอื แบบวเคราะห์ความสอดคล้องระหว่างคำ /กล่มุ คำ /ข้อความสำ คัญที่แสดงลักษณะจำ เพาะกับคุณลักษณะแต่ละประเภท และแบบวิเคราะห์ความสอดคล้องของโจทย์ปัญหากับคุณลักษณะ ซึ่งผู้วิจัยได้หาคุณภาพของเครื่องมือโดยใช้ความตรงเชิงเนื้อหาด้วยค่าดัชนีความสอดคล้องตั้งแต่ 0.5 -1.0 และค่าความเชื่อมั่นไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 ผลการวิจัยพบว่า

1. คำ /กล่มุ คำ /ข้อความทสี่ ่งเสรมิ ให้เกดิ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ สอดแทรกอย่ในโจทย์ปัญหา มจี ำ นวนทงั้ สนิ้

41 รายการ2. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่สอดแทรกอยู่ในโจทย์ปัญหาปรากฏเพียง 7 ประเภท ได้แก่ รักชาติ ศาสน์กษตั รยิ ์ มวี นิ ยั ใฝ่เรยี นรู้ อย่อู ย่างพอเพยี ง ม่งุ มนั่ ในการทำ งาน รักความเป็นไทย และมีจิตสาธารณะ ส่วนคุณลักษณะซื่อสัตย์ สุจริต นั้น ไม่ปรากฏ3. ทุกสำ นักพิมพ์มีปริมาณการสอดแทรกคุณลัก-ษณะใกล้เคียงกัน คือประมาณร้อยละ 13-14 โดยหนังสือเรียนของสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีปรากฏการสอดแทรกในชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มากที่สุด และชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 น้อยที่สุด และปรากฏทุกสาระหลักโดย สาระจำ นวนและการดำ เนินการมีการสอดแทรกมากที่สุดและสาระเรขาคณิตนั้นมีการสอดแทรกน้อยที่สุด สำ หรับหนังสือเรียนของสำ นักพิมพ์อักษรเจริญทัศน์ จำ กัด นั้นปรากฏในชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มากที่สุด และชั้นประถมศึกษาปีที่3 น้อยที่สุด โดยปรากฏในสาระจำ นวนและการดำ เนินการมากที่สุด และสาระเรขาคณิตน้อยที่สุด ในขณะที่สาระการวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็นไม่ปรากฏการสอดแทรกส่วนหนังสือเรียนของสำ นักพิมพ์พัฒนาคุณภาพวิชาการจำ กัด นั้น ปรากฏในชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 มากที่สุด และในชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 น้อยที่สุด โดยปรากฏในสาระจำ นวนและการดำ เนินการมากที่สุดเช่นกัน และสาระการวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็นน้อยที่สุด ในขณะที่สาระเรขาคณิตไม่ปรากฏการสอดแทรก

References

[1] กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. 2551 ค.
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะ-
อันพึงประสงค์ พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : ศูนย์-
พัฒนาหนังสือ กรมวิชาการ.
[2] พัฒนาคุณภาพวิชาการ. 2551. หนังสือเรียนรายวิชา-
พื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1.
กรุงเทพฯ : บริษัทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จ�ำ กัด.
[3] ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาพลังแผ่นดินเชิงคุณธรรม.
2551. การส�ำ รวจและสังเคราะห์ตัวบ่งชี้คุณธรรม
จริยธรรม. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค จ�ำ กัด.
[4] สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.
2551. หนงั สอื เรยี นสาระการเรยี นร้พู นื้ ฐานคณติ ศาสตร์
กล่มุ สาระการเรยี นร้คู ณติ ศาสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่
1. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.
[5] สุรางค์ โค้วตระกูล. 2544. จิตวิทยาการศึกษา. พิมพ์
ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
[6] อักษรเจริญทัศน์. 2551. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน
คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1.
กรุงเทพฯ : บริษัทอักษรเจริญทัศน์ (อจท.) จ�ำ กัด.
[7] Klaus Krippendorff. 1980. Content Analysis:
An Introduction to Its Methodology.
2nd edition, Beverly Hills, CA : Sage 1980.
[8] Ole R. Holsti. 1969. Content Analysis for the
Social Sciences and Humanities. Reading,
MA: Addison-Wesley.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

30-08-2019

How to Cite

พรายมณี จ. (2019). การวิเคราะห์คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนจากโจทย์ปัญหาในหนังสือเรียน คณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 3(1), 44. https://doi.org/10.53848/irdssru.v3i1.212730