ปัจจัยที่มีผลต่อการพูดภาษาอังกฤษของนักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาภาษาอังกฤษคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏในเขตกรุงเทพมหานคร

ผู้แต่ง

  • ธีราภรณ์ พลายเล็ก

DOI:

https://doi.org/10.53848/irdssru.v3i1.212735

คำสำคัญ:

การพูดภาษาอังกฤษ, มหาวิทยาลัยราชภัฏ

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ1) ศึกษาระดับความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษ 2) ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษของนักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัย-ราชภัฏในเขตกรุงเทพมหานคร ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ นักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะครุศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏ ในเขตกรุงเทพมหานคร จำ นวน 2 แห่งคือ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา และมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา จำ นวน 161 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5ระดับ โดยมีค่าความเชื่อมั่น 0.830 และแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน F-test และการวิเคราะห์ค่าถดถอยพหุคูณผลการวิจัยพบว่า 1) นักศึกษาส่วนใหญ่มีความสามารถในการพดูภาษาองั กฤษอย่ในระดบั ปานกลาง มเพยี งส่วนน้อยที่มีความสามารถในการพดู ภาษาองั กฤษอย่ในระดบัสูง ส่วนนักศึกษาที่มีความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษอยู่ในระดับต่ำมีเพียงร้อยละ 8.07 2) ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพดู ภาษาองั กฤษ ได้แก่ ปัจจยั ด้านผ้เรยี น คอืกลวิธีการเรียนและลักษณะนิสัยในเรื่องการใช้ภาษา และปัจจัยด้านข้อมูลพื้นฐาน คือ ระดับผลการเรียน มีผลต่อการพูดภาษาอังกฤษ อย่างมีนัยสำ คัญที่ระดับ 0.05

References

[1] นิตยา วัยโรจนวงศ์. 2543. การศึกษาปัจจัยที่มีต่อ-
ความสามารถในการออกเสียงภาษาอังกฤษของนักเรียน
ระดับอุดมศึกษาศึกษาเฉพาะกรณี : นักศึกษาชั้นปีที่ 1
สถาบันราชภัฏสวนดุสิต. วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษร
ศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตร์ บัณฑิต-
วิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
[2] นุชนาฎ วรยศศรี. 2544. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาอังกฤษของนักศึกษา
สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตพระนครใต้.
วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิตสาขาการ-
สอนภาษาอังกฤษ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย
ศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.
[3] ยุพเยาว์ เมืองหมุด และคณะ. 2548. ปัจจัยที่มีผลต่อ
ความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษของนักศึกษา
แรกเข้าระดับปริญญาตรี หลักสูตร 2 ปีต่อเนื่อง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ
วิทยาเขตพระนครศรีอยุธยา วาสุกรี. รายงานการวิจัย
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ
วิทยาเขตพระนครศรีอยุธยา วาสุกรี.
[4] อัจฉรา วงศ์โสธร. 2544. การทดสอบและการประเมิน
ผลการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ. กรุงเทพมหานคร:
โรงพิมพ์คุรุสภา.
[5] Gardner, R.C. 1973. Focus on Learner : Pragmatic
Perspectives for the language Teacher.
Rowley Mass : Newbury House.
[6] Gardner, R.C., and Wallace E. Lambert. 1972.
A Social Psychology and Second Language
Learning. London : Arnold Publisher Ltd.
[7] Gillette, Babara. 1987. Two Successful Language
Learners : An Introspective Approach.
Introspection in Second Language Research.
Edited by Clas Fxrch Gabriele Kasper.
Clevedon : Multiplelingual Matters Ltd.
[8] Huang-Xiao-Hua. 1985. “Chinese EFL Students’
Learning Strategies for Communication”
TESOL Quarterly. 19,1 : 167-168.
[9] Jakobovits, Loen A. 1971. Foreign Language
Learning : A Psycholinguistic Analysis of the
Issues. Rowley Mass : Newbury House.
[10] Johnson, Keith and Morrow, Keith. 1981.
Communication in the Classroom. London :
Longman.
[11] Klein, Wolfgang. 1990. Second Language
Acquisition. London : Cambridge University
Press.
[12] Millman, Jason. 1981. Handbook of Teaching
Evaluation. London : Sage Publications,
[13] Walberg, Hebbert J. 1989. The Effective
Teacher. New York : McGraw-Hill.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

30-08-2019

How to Cite

พลายเล็ก ธ. (2019). ปัจจัยที่มีผลต่อการพูดภาษาอังกฤษของนักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาภาษาอังกฤษคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 3(1), 52. https://doi.org/10.53848/irdssru.v3i1.212735