การวิเคราะห์องค์ประกอบภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏ ที่มีผลต่อประสิทธิผลการบริหารมหาวิทยาลัย

ผู้แต่ง

  • ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สัมมา รธนิธย์

DOI:

https://doi.org/10.53848/irdssru.v3i1.212736

คำสำคัญ:

มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั , ภาวะผ้นู ำ การเปลยี่ นแปลง, การวิเคราะห์องค์ประกอบ, ประสิทธิผลการบริหารมหาวิทยาลัย

บทคัดย่อ

การศกึ ษาวจิ ยั ครงั้ นมี้ วี ตั ถปุ ระสงค์ (1) เพอื่ วิคราะห์ องค์ประกอบภาวะผู้นำ การเปลี่ยนแปลงของผู้บริหาร มหาวิทยาลัยราชภัฏ (2) เพื่อศึกษาประสิทธิผลการบริหาร มหาวิทยาลัยราชภัฏ และ (3) เพื่อศึกษาองค์ประกอบภาวะ ผู้นำ การเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารที่มีผลต่อประสิทธิผลการ บริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏ โดยใช้แบบสอบถามที่มีค่าความ เชื่อมั่น 0.99 เป็นเครื่องมือ ในการเก็บรวบรวมข้อมลู จากกล่มุ ตัวอย่างจากการสุ่มแบบหลายขั้นตอนที่ได้รับข้อมูลสมบูรณ์ จำ นวน 287 คน คิดเป็นร้อยละ 81.76 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ องค์ประกอบ และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวจิ ยั พบว่า (1) องค์ประกอบภาวะผ้นูำ การ เปลยี่ นแปลงของผ้บู รหิ ารมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ ได้แก่ การบรหิ ารการเปลยี่ นแปลง การกระต้นุ ให้เกดิ การเปลยี่ นแปลง และการมอี ทิ ธพิ ลต่อผ้รู ่วมงาน (2) ประสิทธิผลการบริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏโดยรวมและราย ด้านอยู่ในระดับมากเกือบทุกด้าน ยกเว้นด้านความมีเสถียร- ภาพของบคุ ลากร อย่ใู นระดบั ปานกลาง โดยด้านเทคโนโลยใี น มหาวิทยาลัย มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด ส่วนด้านความม เสถียรภาพ ของบุคลากรมีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด และ (3) องค์ประกอบภาวะ ผู้นำ การเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารที่มีผลต่อประสิทธิผลการ
บริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏ ประกอบด้วย การบริหารการ เปลยี่ นแปลง การกระต้นุ ให้เกดิ การเปลยี่ นแปลง และการ มีอทิ ธพิ ลต่อผ้รู ่วมงาน ตามลำ ดบั ซงึ่ สามารถพยากรณ์ถงึ
ประสิทธิผลการบริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏ ได้ร้อยละ 76.20

References

[1] กมลวรรณ รอดจ่าย. 2553. การวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่ง
ผลต่อประสิทธิภาพโรงเรียนขนาดเล็ก. ปริญญาครุ
ศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
[2] กาญจน์ เรืองมนตรี. 2547. การศึกษาองค์ประกอบ
ภาวะผ้นู �ำ ทสี่ ่งผลต่อประสทิ ธผิ ลการบรหิ ารและการ
จัดการศึกษาสถานศึกษาขั้นพื้นฐานตามแนวปฏิรูป
การศึกษาเขตพื้นที่การศึกษามหาสารคาม.
ปริญญาการศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาการบริหารการ-
ศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร.
[3] ขนั ทอง ใจด.ี 2550. ความสมั พนั ธ์ระหว่างภาวะผ้นู �ำ
การเปลยี่ นแปลงของผ้บู รหิ ารกบั ความพงึ พอใจในการ
ปฏิบัติงานของพนักงานบริษัทสหวิริยาสตีลอินดัสตรี
จ�ำ กัด (มหาชน). ปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหา
บัณฑิต สาขาการบริหารการจัดการ มหาวิทยาลัย-
ราชภัฏสวนสุนันทา.
[4] คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ, ส�ำ นักงาน.
2551. เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับ
พื้นฐาน. กรุงเทพฯ: ส�ำ นักงานคณะกรรมการพัฒนา
ระบบราชการ
[5] คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ, ส�ำ นักงาน.
2551. ค่มู อื ค�ำ อธบิ ายตวั ชวี้ ดั การพฒั นาคณุ ภาพการ
บริหารจัดการภาครัฐ ปีงบประมาณ 2552 ระดับ
ความส�ำ เร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ
ภาครัฐระดับส่วนราชการระดับอุดมศึกษา.กรุงเทพฯ
: ส�ำ นักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
[6] ชนะ พงศ์สุวรรณ. 2548. ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะ
ผ้นู �ำ การเปลยี่ นแปลงและการกระจายอ�ำ นาจการบร-ิ
หารงานวิชาการของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน อ�ำ เภอปากท่อ ส�ำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาราชเทวี เขต 1.
ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหาร-
การศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
[7] ชัยยนต์ เสรีเรอื งยทุ ธ. 2548. ภาวะผ้นู �ำ การเปลยี่ น
แปลงของผ้บู รหิ าร ตามการรบั ร้ขู องครโู รงเรยี นระดบั
ประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร. ปริญญาศึกษา
ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
[8] ทศั นยี ์ จลุ อดงุ . 2547. การวเิ คราะห์ตวั ประกอบภาวะผ้นู �ำ
ทมี่ ปี ระสทิ ธผิ ลของหวั หน้าหอผ้ปู ่วยโรงพยาบาล
มหาวิทยาลัยของรัฐ. ปริญญาพยาบาลศาสตร์มหา-
บัณฑิต. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
[9] บญุ มี ก่อบญุ . 2550. ภาวะผ้นู �ำ เพอื่ การเปลยี่ นแปลง
ของผ้บู รหิ ารโรงเรยี นทสี่ ่งผลต่อประสทิ ธผิ ลการบรหิ าร
งานวิชาการโรงเรียนสังกัดส�ำ นักงานเขตพื้นที่การ
ศึกษาสกลนคร เขต 3. ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏ
สกลนคร.
[10] พิศสุภา ปัจฉิมสวัสดิ์. 2552. การวิเคราะห์ปัจจัยภาวะ
ผ้นู �ำ ของหวั หน้าภาควชิ าทสี่ ่งผลต่อประสทิ ธผิ ลองค์การ
ของภาควิชาในสถาบันอุดมศึกษาเอกชน. ปริญญา
ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
[11] สนุ ยี ์ จไุ รสนิ ธ์.ุ 2549. การสบื สอบสไตล์การเป็นผ้นู �ำ
และสไตล์การบริหารของอธิการบดีมหาวิทยาลัย-
ราชภัฏที่มีผลต่อคณาจารย์และนักศึกษา. ปริญญา-
ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาอุดมศึกษา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
[12] สุวรรณา วงศ์เมืองแก่น. 2548. การวิเคราะห์ตัวประกอบ
ภาวะผ้นู �ำ การปรบั เปลยี่ นของผ้บู รหิ ารการพยาบาล
โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย. ปริญญาพยาบาลศาสตร์
มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการพยาบาล
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
[13] อภวิ ฒั น์ เจนเชยี่ วชาญ. 2549. ภาวะผ้นู �ำ เพอื่ การ
เปลยี่ นแปลงของผ้บู รหิ ารดเี ด่นในโรงเรยี นประถมศกึ ษา
สังกัดส�ำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษานครพนม. ปริญญา
ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา
มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
[14] Bass, B.M. and Avolio, B.J.. 1994. Improving
Organizational Effectiveness Through Transformational
Leadership. Thousand Oaks :
Sage.
[15] Hoy, Wayne K. and Miskel, Cecil G. 2001. Educational
Aministration: Theory, Research, and
Practice. Singapore : McGraw-Hill. Sergiovanni,
Thomas J. 1991. The Principalship: A Reflective
Practice Perspective. 2nd ed. Boston
: Allyn and Bacon.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

30-08-2019

How to Cite

รธนิธย์ ผ. ด. (2019). การวิเคราะห์องค์ประกอบภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏ ที่มีผลต่อประสิทธิผลการบริหารมหาวิทยาลัย. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 3(1), 59. https://doi.org/10.53848/irdssru.v3i1.212736