ทัศนะทางการเมืองและการมีส่วนร่วมทางการเมืองแบบประชาธิปไตยของประชาชน 44 ชุมชนเขตดุสิต กรุงเทพมหานคร

ผู้แต่ง

  • ภูสิทธ์ ขันติกุล

DOI:

https://doi.org/10.53848/irdssru.v3i1.212746

คำสำคัญ:

การมีส่วนร่วมทางการเมือง, ปัจจัยทางการเมือง, รูปแบบการมีส่วนร่วม, ประชาชนเขตดุสิต

บทคัดย่อ

การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อค้นหาระดับการมีส่วนร่วมทางการเมือง 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการมีส่วนร่วมทางการเมือง 3) เพื่อวิเคราะห์ทัศนะทางการเมืองและกำ หนดรูปแบบการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในเขตดุสิต กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ โดยเครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูล ได้แก่แบบสอบถามและแบบสมั ภาษณ์ มเทคนคิ เลอื กกล่มุ ตวั อย่างแบบใช้ความน่าจะเป็นคอื แบบแบ่งชนั้ และแบบง่าย ได้กล่มุตัวอย่าง จำ นวน 400 คน และใช้เทคนิคเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบไม่ใช้ความน่าจะเป็นคือ แบบเจาะจง สำ หรับการสัมภาษณ์เฉพาะผ้นู ำ ชมุ ชน 44 คน และทำ การวิ คราะห์ข้อมลู โดยใช้สถิติ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าความถี่ และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน Independent - Samples T test (T-test) One-Way ANOVA (F-test) และPearson s Product MomentCorrelation Coefficient (r) และวิเคราะห์เชิงเนื้อหา พบว่าประชาชนเขตดุสิต กรุงเทพมหานครมีส่วนร่วมทางการเมืองในภาพรวมอย่ใู นระดบั ต่ำ ซงึ่ การมสี ่วนร่วมทางการเมอื งอยู่ระดับต่ำ ได้แก่ ด้านการชุมนุมทางการเมือง ด้านการติดต่อกับนักการเมือง และด้านการเข้าร่วมทำ กิจกรรมทางการเมืองกับพรรคการเมืองและกลุ่มทางการเมืองต่างๆ ส่วนปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการมีส่วนร่วมทางการเมือง ได้แก่ เพศ อายุ สถานภาพอาชีพ การเป็นสมาชิกกลุ่มทางสังคม บทบาทหน้าที่ในครอบครวั บทบาทหน้าทใ นชมุ ชน การรบั ร้ขู ่าวสารทางการเมือง การพัฒนาทางการเมือง ความสนใจทางการเมืองพฤติกรรมทางการเมือง การกล่อมเกลาทางการเมือง ส่วนรูปแบบการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนเขตดุสิตกรุงเทพมหานคร พบว่า ประชาชนมีส่วนร่วมทางการเมืองมีลักษณะเป็นทางการ หรือถูกต้องตามกฎหมาย และเป็นกิจกรรมทางการเมืองที่ประชาชนให้ความสำ คัญมากที่สุดและเข้าถึงได้ง่ายและสะดวกที่สุด นั่นจะเป็นฐานของการสร้างประชาธิปไตย ซึ่งก็คือการมีส่วนร่วมทางการเมืองโดยไปเลือกตงั้ ผ้แทนท้องถนิ่ หรอื ส.ส. หรอื ส.ว. นนั่ เอง

References

[1] กิจฎิภันส์ ยศปัญญา. 2547. การมีส่วนร่วมทางการ
เมืองของประชาชน : ศึกษาเฉพาะกรณี ประชาชนใน
หม่บู ้านสนิ ธนา 1 เขตบงึ ก่มุ กรงุ เทพมหานคร.
วิทยานิพนธ์ปริญญารัฐประศาสนศาตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาการบริหารทั่วไป มหาวิทยาลัยบูรพา.
[2] เกรียงศักดิ์ เรืองสังข์. 2544. การมีส่วนร่วมทางการ
เมืองของประชาชน : ศึกษาเฉพาะกรณีการเลือกตั้ง
สมาชิกสภาเทศบาลต�ำ บล จังหวัดพัทลุง. วิทยานิพนธ์
ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐศาสตร์)
มหาวิทยาลัยรามค�ำ แหง.
[3] ถวิลวดี บุรีกุลและคณะ. 2546. โครงการการมีส่วน
ร่วมทางการเมืองของประชาชนและความคิดเห็นต่อ
การท�ำ งานของรัฐบาลและองค์กรอิสระ. ชุดโครงการ
วิจัยเรื่องการติดตามและประเมินผลบังคับใช้รัฐธรรม-
นูญสนับสนุนโดยส�ำ นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
(สกว.).
[4] ทินพันธ์ นาคะตะ. 2543. ประชาธิปไตยไทย. พิมพ์
ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : คณะรัฐประศาสนศาสตร์
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
[5] บวรศักดิ์ อุวรรณโณ และถวิลวดี บุรีกุล. 2548.
ประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม. กรุงเทพมหานคร :
สถาบันพระปกเกล้า.
[6] พิชาย รัตนดิลก ณ ภูเก็ต. 2541. ชนชั้นกับการเลือก
ตั้ง. กรุงเทพมหานคร : ส�ำ นักพิมพ์วิภาษา.
[7] ภาวิณี โพธิ์มั่น. 2543. รูปแบบการมีส่วนร่วมทางการ
เมืองของประชาชนในองค์การบริหารส่วนต�ำ บล :
ศึกษาเฉพาะกรณีต�ำ บลขุนคง อ�ำ เภอหางดง จังหวัด
เชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ปริญญารัฐศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาการเมืองและการปกครอง มหาวิทยาลัย
เชียงใหม่.
[8] มนัสชัย บ�ำ รุงเขต. 2550. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการมี
ส่วนร่วมการเมืองระดับท้องถิ่นของประชาชนในองค์
การบริหารส่วนต�ำ บลบางซ้าย อ�ำ เภอบางซ้าย จังหวัด
พระนครศรีอยุธยา. การศึกษาอิสระปริญญารัฐประ-
ศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการปกครองท้องถิ่น
วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
[9] ราชกิจจานุเบกษา. 2550. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณา-
จักรไทย. [Online] accessed 8 October 2009.
Available from http://www.ratchakitcha.soc.
go.th/DATA/PDF/2550/A/047/1.PDF
[10] ฤทัยรัตน์ กากิ่ง. 2543. การมีส่วนร่วมทางการเมือง
ของประชาชนในการปกครองส่วนท้องถิ่น : ศึกษาเฉพาะกรณี เทศบาลต�ำ บลพระสมุทรเจดีย์ อ�ำ เภอ
พระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ. วิทยานิพนธ์
ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐศาสตร์)
มหาวิทยาลัยรามค�ำ แหง.
[11] ละออ เมืองเกษม. 2553, 29 มีนาคม. คณะกรรมการ
ชุมชนริมทางรถไฟสายแปดริ้ว. สัมภาษณ์.
[12] ศุภวัธ มีบญุ ธรรม. 2547. การรบั ร้ขู ่าวสารทางการ-
เมืองกับการมีส่วนร่วมทางการเมืองของนิสิตนักศึกษา
: ศึกษาเฉพาะกรณีนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐศาสตร์)
สาขารัฐศาสตร์ ภาควิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสน-
ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
[13] สมบัติ ธ�ำ รงธัญญวงศ์. 2549. การเมืองไทย.
กรุงเทพมหานคร : เสมาธรรม.
[14] สมบูรณ์ แก้วอนุรักษ์. 2553, 29 มีนาคม. หัวหน้า
ชุมชนวัดประชาระบือธรรม 4. สัมภาษณ์.
[15] สัญญา แสงทอง. 2553, 1 เมษายน. ประชาชนชุมชน
พิชัย. สัมภาษณ์.
[16] สามารถ อ�ำ พันหอม. 2553, 30 มีนาคม. เลขานุการ
ชุมชนราชพัสดุ. สัมภาษณ์.
[17] สุธาทิพย์ ฉั่วสกุล. 2541. การมีส่วนร่วมทางการเมือง
ของผ้นู �ำ ท้องถนิ่ : ศกึ ษาเฉพาะกรณอี �ำ เภอเมอื ง
จังหวัดภูเก็ต. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหา-
บัณฑิต (รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยรามค�ำ แหง.
[18] สุพินดา เกิดมาลี. 2547. การมีส่วนร่วมทางการเมือง
ของสตรีในเขตพื้นที่ องค์การบริหารส่วนต�ำ บลอ�ำ เภอ
บ้านแพ้ว จังหวัดสมุทรสาคร. วิทยานิพนธ์ปริญญา
ศิลปะศาสตร มหาบัณฑิต สาขาสังคมศาสตร์เพื่อการ
พัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.
[19] กรรมการการเลือกตั้งประจ�ำ ท้องถิ่นกรุงเทพมหานคร.
2552. รายงานความคบื หน้าผ้มู าใช้สทิ ธเิ ลอื กตงั้ และ
ส่งหบี บตั รผ้วู ่าราชการกรงุ เทพมหานคร ปี 2552
เรยี งตามร้อยละผ้มู าใช้สทิ ธเิ ลอื กตงั้ วนั ที่ 11 มกราคม
พ.ศ. 2552. [อัดส�ำ เนา]
[20] อมร รักษาสัตย์ และคณะ. 2543. ประชาธิปไตย
อุดมการณ์ หลักการและแบบอย่างการปกครองหลาย
ประเทศ. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
[21] Lester W. Milbrath and M. L. Goal. 1977.
Political Participation : How and Why Do People
Get Involved in Politics. Chicago : Rand
McNally College Publishing Company.
[22] Myron Wiener. 1971. “Political Participation :
Crisis of the Political Process” in Crisis on
Sequences in Political Development. Princeton:
Princeton University Press.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

30-08-2019

How to Cite

ขันติกุล ภ. (2019). ทัศนะทางการเมืองและการมีส่วนร่วมทางการเมืองแบบประชาธิปไตยของประชาชน 44 ชุมชนเขตดุสิต กรุงเทพมหานคร. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 3(1), 68. https://doi.org/10.53848/irdssru.v3i1.212746