กระบวนการและกลวิธีการสื่อสารเพื่อถ่ายทอดพุทธธรรมในหนังสือธรรมะของท่าน ว.วชิรเมธี

ผู้แต่ง

  • ช่อฟ้า เกตุเรืองโรจน์
  • รองศาสตราจารย์อวยพร พานิช

DOI:

https://doi.org/10.53848/irdssru.v3i1.212749

คำสำคัญ:

กระบวนการและกลวิธีการสื่อสาร, ว.วชิรเมธี

บทคัดย่อ

การวิจัยเรื่อง “กระบวนการและกลวิธีการสื่อสารเพื่อถ่ายทอดพุทธธรรม ในหนังสือธรรมะของท่าน ว.วชิรเมธี”มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการและกลวิธีการถ่ายทอดธรรมะที่ปรากฏในผลงานหนังสือธรรมะของท่าน ว.วชิรเมธีและศึกษาวิธีการ และรูปแบบในการถ่ายทอดพุทธธรรมผ่านหนังสือธรรมะของท่านให้สอดคล้องกับบริบทของสังคมสำ หรับระเบียบวิธีวิจัย เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ (QualitativeResearch) โดยใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหา (Textual Analysis)และการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (Depth Interview)ผลการศึกษาพบว่า กระบวนการในการถ่ายทอดหนังสือธรรมะในส่วนของเนื้อหามีกระบวนการโดยเริ่มจากแรงบันดาลใจของผู้เขียน หาความร้ในเรอื่ งนนั้ ๆ กำ หนดแนวทาง ลงมือทำ งานเขียน ส่งให้บรรณาธิการของสำ นักพิมพ์ตรวจแก้ให้ถูกต้อง ดูแลเทคนิคการพิมพ์ และจัดพิมพ์หลังได้รบั อนญุ าตจากผ้เขยี น ส่วนรปู เล่มแต่ละสำ นกั พมิ พ์ จะสร้างสรรค์รปู เล่มตามกล่มุ เป้าหมาย และเอกลกั ษณ์ของสำ นกัพิมพ์นั้นๆ กลวิธีที่ใช้ในการถ่ายทอดหนังสือธรรมะ จำ แนกได้2 ลักษณะ คือ กลวิธีทางภาษา และกลวิธีการนำ เสนอ โดยกลวิธีทางภาษาที่ใช้มากที่สุดสามอันดับแรก ได้แก่ การใช้คำ สัมผัสคล้องจอง การใช้ภาพพจน์ประเภทอุปมา และการเล่นคำ ประเภทคำ ซ้ำ ตามลำ ดับ ส่วนกลวิธีการนำ เสนอที่ผู้เขียนใช้มากที่สุดสามลำ ดับ ได้แก่ การยกตัวอย่างประเภทวาทะของบุคคล การยกตัวอย่างประเภทพฤติกรรมหรือประสบการณ์ของบุคคล และการเปรียบเทียบ ตามลำ ดับ วิธีการที่ท่านว.วชิรเมธีใช้ในการถ่ายทอดพุทธธรรมให้สอดคล้องกับบริบทของสังคม คือ การยกตัวอย่างประเภทเหตุการณ์ ซึ่งสามารถจำ แนกได้เป็น 3 กล่มุ คอื บรบิ ทภาพรวมของสงั คม บรบิ ทเหตุการณ์รายวัน และบริบทเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์รูปแบบการถ่ายทอดพุทธธรรมให้สอดคล้องกับบริบทของสังคมให้ความสำ คัญโดยเน้น “การถ่ายทอดให้ร่วมสมัย”ประกอบด้วยการใช้ภาษาต้องเป็นภาษาของคนร่วมสมัย สำ นวนการเขียนเข้าใจง่าย การยกตัวอย่าง เป็นการยกตวั อย่างทสี่ มจรงิ ใกล้ตวั และตวั ตนของผ้เขยี นเป็นคนร่วมสมัย ใช้ประสบการณ์ตรงเพื่อถ่ายทอดพุทธธรรมอย่างถึงแก่น

References

[1] กิตติ กันภัย. 2551. จิตวิทยาการสื่อสาร.
กรุงเทพมหานคร : โครงการต�ำ ราคณะนิเทศศาสตร์.
[2] กติ มิ า สรุ สนธ.ิ 2542. ความร้ทู างการสอื่ สาร.
กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,
[3] กรรณิการ์ อัศวดรเดชา. 2550. การสื่อสารเพื่อ
การโน้มน้าวใจ. กรุงเทพมหานคร : ภาควิชาการ
ประชาสัมพันธ์ คณะนิเทศศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,
[4] จิราพร เนติธาดา. 2542. วิธีการถ่ายทอดธรรมะของ
หลวงพ่อชา สุภัทโท. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต,
ภาควิชาการประชาสัมพันธ์ คณะนิเทศศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
[5] จ�ำ นง วิบูลย์ศรี. 2538. หลักและการปฏิบัติทาง
วาทนิเทศ. กรุงเทพมหานคร : ภาควิชาวาทวิทยาและ
สื่อสารการแสดง คณะนิเทศศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
[6] ดารุเรศ กาศโอสถ. 2543. การสื่อสารเพื่อการ
โน้มน้าวใจ. ปทุมธานี : คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัย
รังสิต.
[7] เถกงิ พนั ธ์เุ ถกงิ อมร. 2539. “การเขยี นเพอื่ การสอื่ สาร”
ในเอกสารค�ำ สอนรายวิชา 1540204. สงขลา:
ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
สถาบันราชภัฏสงขลา.
[8] ธัญญา สังขพันธานนท์. 2539. วรรณกรรมวิจารณ์.
ปทุมธานี: นาคร.
[9] นิตยา จึงเกษมสุข. 2531. กระบวนการสื่อสารเพื่อ
การพฒั นาจติ ใจผ้เู ข้ารบั การอบรม ของส�ำ นกั ธรรม
ปฏิบัติ. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, ภาควิชา
การประชาสัมพันธ์ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
[10] ปรมะ สตะเวทิน. 2539. การสื่อสารมวลชน :
กระบวนการและทฤษฎี. กรุงเทพมหานคร:
คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
[11] ปรมะ สตะเวทิน. 2526. หลักนิเทศศาสตร์.
กรงุ เทพมหานคร: ร่งุ เรอื งสาส์นการพมิ พ์.
[12] ประมวลสาระชุดวิชา 15701 ปรัชญานิเทศศาสตร์
และทฤษฎีการสื่อสาร. (2548). นนทบุรี : มหาวิทยาลัย
สุโขทัยธรรมาธิราช.
[13] ปันนัดดา นพพนาวัน. 2533. การศึกษากระบวน
การสื่อสารเพื่อการเผยแพร่ธรรมะของสถาบันสงฆ์ไทย.
วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, ภาควิชาการประชา-
สัมพันธ์ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
[14] ปุณยนุช ชุติมา. 2543. ปรัชญาการสื่อสารในธรรมสาร
ของพุทธทาสภิกขุ. วิทยานิพนธ์ปริญญา
มหาบัณฑิต, ภาควิชาวาทวิทยาและสื่อสารการแสดง
คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
[15] พัชนี เชยจรรยาและคณะ. 2548. แนวคิดหลัก
นิเทศศาสตร์ : ประมวลศัพท์วิชาการ ทฤษฎีส�ำ คัญ
วิธีศึกษาวิจัย. กรุงเทพมหานคร : ส�ำ นักพิมพ์ข้าวฟ่าง.
[16] พิสิทธิ์ กอบบุญ. 2548. ปุจฉา - วิสัชนา : กลวิธีทาง
วรรณศิลป์ในวรรณคดีไทยพุทธศาสนา. วิทยานิพนธ์
ปริญญาดุษฎี
[17] บัณฑิต, ภาควิชาภาษาไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
[18] เมตตา กฤตวิทย์และคณะ. 2532. ทฤษฎีแม่บททาง
นิเทศศาสตร์. กรุงเทพมหานคร : คณะนิเทศศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
[19] เมตตา กฤตวิทย์และคณะ. 2530. แนวคิดหลัก
นิเทศศาสตร์. กรุงเทพมหานคร : ชมรมวิจัยและ
พัฒนานิเทศศาสตร์.
[20] รจิตลักขณ์ แสงอุไร. 2548. การสื่อสารของมนุษย์.
กรุงเทพมหานคร : โครงการต�ำ ราและเอกสารทาง
วิชาการ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
[21] ลออ หตุ างกรู . 2524. หลกั การสอื่ ภาษา : ค่มู อื เบอื้ งต้น.
กรุงเทพมหานคร: อักษรไทย.
[22] ว.วชิรเมธี. 2546. ก�ำ ลังใจแด่ชีวิต. กรุงเทพมหานคร :
ส�ำ นักพิมพ์เรือนปัญญา.
[23] ว.วชิรเมธี. 2551. คนส�ำ ราญ งานส�ำ เร็จ. พิมพ์ครั้งที่
17. กรุงเทพมหานคร : ส�ำ นักพิมพ์ส�ำ นักพิมพ์อมรินทร์.
[24] ว.วชิรเมธี. 2550. ตะแกรงร่อนทอง.
กรุงเทพมหานคร: ส�ำ นักพิมพ์มติชน.
[25] ว.วชิรเมธี. 2553. ตะแกรงร่อนทอง. พิมพ์ครั้งที่ 3.
กรุงเทพมหานคร: ส�ำ นักพิมพ์มติชน.
[26] ว.วชิรเมธี. 2552. ธรรมะเกร็ดแก้ว. พิมพ์ครั้งที่ 17.
กรุงเทพมหานคร: ส�ำ นักพิมพ์ส�ำ นักพิมพ์อมรินทร์.
[27] ว.วชิรเมธี. 2552. ธรรมะคลายใจ. พิมพ์ครั้งที่ 9.
กรุงเทพมหานคร: ส�ำ นักพิมพ์ส�ำ นักพิมพ์อมรินทร์.
[28] ว.วชิรเมธี. 2551. ธรรมะงอกงาม. พิมพ์ครั้งที่ 8.
กรุงเทพมหานคร: ส�ำ นักพิมพ์อมรินทร์.
[29] ว.วชิรเมธี. 2552. ธรรมะดับร้อน. พิมพ์ครั้งที่ 14.
กรุงเทพมหานคร: ส�ำ นักพิมพ์อมรินทร์.
[30] ว.วชิรเมธี. 2552. ธรรมะติดปีก. พิมพ์ครั้งที่ 26.
กรุงเทพมหานคร: ส�ำ นักพิมพ์อมรินทร์.
[31] ว.วชิรเมธี. 2552. ธรรมะท�ำ ไม. พิมพ์ครั้งที่ 22.
กรุงเทพมหานคร: ส�ำ นักพิมพ์อมรินทร์.
[32] ว.วชิรเมธี. 2552. ธรรมะน�้ำเอก. พิมพ์ครั้งที่ 9.
กรุงเทพมหานคร: ส�ำ นักพิมพ์อมรินทร์.
[33] ว.วชิรเมธี. 2552. ธรรมะบันดาล. พิมพ์ครั้งที่ 12.
กรุงเทพมหานคร: ส�ำ นักพิมพ์อมรินทร์.
[34] ว.วชิรเมธี. 2550. ธรรมะศักดิ์สิทธิ์. กรุงเทพมหานคร:
ส�ำ นักพิมพ์อมรินทร์.
[35] ว.วชิรเมธี. 2552. ธรรมะศักดิ์สิทธิ์. พิมพ์ครั้งที่ 6.
กรุงเทพมหานคร: ส�ำ นักพิมพ์อมรินทร์.
[36] ว.วชิรเมธี. 2549. ธรรมะสบายใจ. กรุงเทพมหานคร:
ส�ำ นักพิมพ์อมรินทร์.
[37] ว.วชิรเมธี. 2553. ธรรมะสบายใจ. พิมพ์ครั้งที่ 24.
กรุงเทพมหานคร: ส�ำ นักพิมพ์อมรินทร์.
[38] ว.วชิรเมธี. 2552. ธรรมะหลับสบาย. พิมพ์ครั้งที่ 32.
กรุงเทพมหานคร: ส�ำ นักพิมพ์อมรินทร์.
[39] ว.วชิรเมธี. 2550. ธรรมาค้าขึ้น. พิมพ์ครั้งที่ 2.
ปทุมธานี: ส�ำ นักพิมพ์เวิร์คพอยท์.
[40] ว.วชิรเมธี. 2547. ปรัชญาหน้าบ้าน. กรุงเทพมหานคร:
เรือนปัญญา.
[41] ว.วชิรเมธี. 2553. มองลึก นึกไกล ใจกว้าง. พิมพ์ครั้ง
ที่ 16. กรุงเทพมหานคร: ส�ำ นักพิมพ์ปราณ.
[42] ว.วชริ เมธ.ี 2552. ร้กู ่อนตาย ไม่เสยี ดายชาตเิ กดิ .
พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพมหานคร: ส�ำ นักพิมพ์ปราณ.
[43] ว.วชิรเมธี. 2547. เรารักแม่. กรุงเทพมหานคร:
หนังสือผูกเสี่ยว.
[44] ว.วชิรเมธี. 2553. ลายแทงแห่งความสุข. พิมพ์ครั้งที่
7. กรุงเทพมหานคร: ส�ำ นักพิมพ์ปราณ.
[45] ว.วชิรเมธี. 2552. ลายแทงแห่งความสุข. พิมพ์ครั้งที่
4. กรุงเทพมหานคร: ส�ำ นักพิมพ์ปราณ.
[46] ว.วชิรเมธี. 2548. สบตากับความตาย.
กรุงเทพมหานคร: ส�ำ นักพิมพ์อมรินทร์.
[47] ว.วชิรเมธี. 2552. สบตากับความตาย. พิมพ์ครั้งที่
19. กรุงเทพมหานคร: ส�ำ นักพิมพ์อมรินทร์.
[48] ว.วชิรเมธี. 2552. Love Analysis มหัศจรรย์แห่งรัก.
พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: เทน�้ำเทท่า.
[49] วิรัช ลภิรัตนกุล. 2526. วาทนิเทศและวาทศิลป์.
กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร์.
[50] ศกั ดา ปั้นเหน่งเพชร. 2528. ภาษากบั การสอื่ สาร.
นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร พระราชวังสนาม-
จันทร์.
[51] ศุภรัศมิ์ ฐิติกุลเจริญ. 2540. ทฤษฎีการสื่อสาร.
กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยรามค�ำ แหง.
[52] สมควร กวียะ. 2545. การสื่อสารมวลชน : บทบาท
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และความรับผิดชอบ.
กรุงเทพมหานคร: อักษราพิพัฒน.
[53] สมชาติ กิจยรรยง. 2542. ศิลปะในการถ่ายทอด.
กรุงเทพมหานคร: เรือนบุญ.
[54] สมเกียรติ เรืองอนันต์เลิศ. 2539. การเปิดรับธรรมะ
ในยุคโลกาภิวัตน์. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต
ภาควิชาการประชาสัมพันธ์ คณะนิเทศศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
[55] เสนาะ ติเยาว์. 2541. การวิเคราะห์การสื่อสารระหว่าง
บุคคล. กรุงเทพมหานคร: คณะพาณิชยศาสตร์และ
การบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
[56] อธิคม สวัสดิญาณ. 2551. พูดชนะใจ : ศิลปะการ
เกลี้ยกล่อมแบบเหนือชั้น. กรุงเทพมหานคร :
เต๋าประยุกต์.
[57] อรวรรณ ปิลันธน์โอวาท. 2537. การสื่อสารเพื่อ
การโน้มน้าวใจ. กรุงเทพมหานคร : ส�ำ นักพิมพ์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
[58] อวยพร พานิชและคณะ. 2543. ภาษาและหลัก
การเขียนเพื่อการสื่อสาร. กรุงเทพมหานคร :
ส�ำ นักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
[59] อัญชลี ถิรเนตร. 2543. กลยุทธ์การสื่อสารเพื่อ
การโน้มน้าวใจในหลักค�ำ สอนของพระพุทธเจ้า.
วิทยานิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต,ภาควิชาการ
ประชาสัมพันธ์
คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
[60] เอกสารการสอนชุดวิชา 15201 หลักและทฤษฎี
การสื่อสาร. 2531. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรร
มาธิราช.
[61] เอกสารการสอนชุดวิชา 15232 ทฤษฎีและพฤติกรรม
การสื่อสาร. 2547. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัย
ธรรมาธิราช.
[62] เอกสารการสอนชุดวิชา 15234 การสร้างสารในงาน
นิเทศศาสตร์. 2548. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัย
ธรรมาธิราช.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

30-08-2019

How to Cite

เกตุเรืองโรจน์ ช., & พานิช ร. (2019). กระบวนการและกลวิธีการสื่อสารเพื่อถ่ายทอดพุทธธรรมในหนังสือธรรมะของท่าน ว.วชิรเมธี. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 3(1), 78. https://doi.org/10.53848/irdssru.v3i1.212749