การคัดเลือกและฝึกฝนนักแสดงสำหรับหนังสั้นในมิติเพศวิถีโครงการ

ผู้แต่ง

  • กัญญพิชญ์ ปวิดาภา

DOI:

https://doi.org/10.53848/irdssru.v3i1.212759

คำสำคัญ:

-

บทคัดย่อ

วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเกณฑ์และวิธีการในการคัดเลือกนักแสดงตลอดจนศึกษาแนวทางการแนะนำ และฝึกฝนนกั แสดงของผ้กู ำ กบั หนงั สนั้ ในมติ เพศวิถี จำ นวน15 เรื่องในโครงการ Thai Queer Short Film 1ผลการวิจัยพบว่า เกณฑ์ในการคัดเลือกนักแสดงที่ผู้กำ กับในโครงการเลือกใช้คือ การคัดเลือกนักแสดงจากเพศของนักแสดง, การคัดเลือกนักแสดงจากบุคลิกภายนอก,การยอมรับที่จะแสดงในบทบาทตัวละครที่มีเพศวิถีเป็นผู้มีความหลากหลายทางเพศ, คุณภาพของเสียงและการพูด,การเคลื่อนไหวและจังหวะ, การพัฒนาของความรู้สึกและอารมณ์ โดยตัวละครที่ปรากฏในหนังสั้นจะเป็นตัวแทนของบุคคลจากเพศวิถีนั้นๆ ดังนั้นหากสามารถทำ การคัดเลือกนักแสดงที่มีเพศวิถีที่ตรงและเหมาะสมกับตัวละครนั้นได้จริงๆให้มาแสดงถึงตัวตนและเพศวิถีที่มาจากมุมมองของผู้กำ กับได้ ผลงานทอี่ อกมากจ็ ะสามารถให้ความรู้ สร้างความเข้าใจตลอดจนลดอคติต่อผู้มีความหลากหลายทางเพศได้เป็นอย่างดี ทงั้ นดี้ ้วยปัญหาข้อจำ กดั ด้านเวลาทำ ให้ผ้กู ำ กบั ต่างก็พยายามเลือกนักแสดงที่มีพื้นฐานทักษะหรือประสบการณ์ด้านการแสดงอย่กู ่อนแล้วมาทำ งานในส่วนของการฝึกฝนนกั แสดงพบว่า ผ้กู ำ กบั ต้องมีการแนะนำ ป้อนข้อมูลที่ผู้กำ กับเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องเพศวิถีให้ตรงกบั นกั แสดง และพยายามขจดั ภาพตดิ ตาของผ้มู คี วามหลากหลายทางเพศจากสื่อต่างๆ ในหัวของนักแสดงออกเพื่อให้ได้การแสดงที่ไม่เป็น clichéผู้กำ กับในโครงการใช้วิธีส่งโครงเรื่องและบทให้นักแสดงอ่าน และอาศัยการพูดคุยกับนักแสดงก่อนเริ่มการแสดงจริงเพื่อความเข้าใจไปในทิศทางเดียวกันและสรุปสิ่งที่ผู้กำ กับต้องการในฉากนั้นๆ เพื่อให้การแสดงออกมาเป็นธรรมชาติ และสมจริงความเข้าใจที่ถูกต้องในเรื่องของความหลากหลายทางเพศวิถีนั้นเป็นสิ่งสำ คัญในการแสดง โดยเฉพาะเมื่อผ้กู ำ กบั หรือนักแสดงต้องทำ งานกับตัวละครที่มีเพศวิถีไม่ตรงกบั เพศตวั เอง เพอื่ การนำ ความร้มู าประกอบให้ได้เป็นตวั ละครที่มีพลัง และเป็นธรรมชาติแบบไม่จอมปลอม

References

[1] กนกพันธ์ จินตนาดิลก. 2546. การสื่อสารระหว่าง
ผ้กู �ำ กบั การแสดงและนกั แสดงในการแสดงละครเวที
พ.ศ.2486-2496. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต,
สาขาวิชาวาทวิทยา คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์-
มหาวิทยาลัย.
[2] ชลิดาภรณ์ ส่งสัมพันธ์. 2551. เพศวิถี : นิยามความ
หมายและกรอบแนวคิด. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา:
http://www.nsdv.go.th /innovation/sexuality.
doc, [2551 สิงหาคม 21]
[3] นภาพิตร จันทร์ไทย. 2544. โทรทัศน์ประสบการณ์
และการศกึ ษากบั การสร้างสรรค์ผลงานของผ้กู �ำ กบั
การแสดงละครไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต,
สาขาวิชาการสื่อสารมวลชน คณะนิเทศศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,
[4] บรรจง โกศัลวัฒน์. 2544. การก�ำ กับ และการแสดง
ภาพยนตร์. กรุงเทพฯ: ส�ำ นักพิมพ์มหาวิทยาลัย-
ธรรมศาสตร์.
[5] พีรพงศ์ เสนไสย. 2550. “อะไรก็ได้ค่ะ” “ยังไงก็ได้
ครบั ” ผ้กู �ำ กบั การแสดง. มหาสารคาม: ส�ำ นกั พมิ พ์
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
[6] ภัฎฎารินธ์ อิงคุลานนท์. 2551. สถานภาพวิชาชีพ
และกระบวนการสอื่ สารของผ้ฝู ึกสอนการแสดงกบั
นักแสดงในสื่อละครเวที ละครโทรทัศน์ ภาพยนตร์
และภาพยนตร์โฆษณา. วิทยานิพนธ์ปริญญามหา-
บัณฑิต, สาขาวิชาวาทวิทยา คณะนิเทศศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
[7] มทั นี รตั นนิ . 2546. ความร้เู บอื้ งต้นเกยี่ วกบั ศลิ ปะ
การก�ำ กับการแสดงละคอนเวที, กรุงเทพฯ:
ส�ำ นักพิมพ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
[8] วิลาสินี พิพิธกุล. 2546. วาทกรรมเรื่องเพศใน
หนังสือพิมพ์. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.
tja.or.th/index.php? option=com_content&
task=view&id=69&Itemid=72, [2551, สิงหาคม 18]
[9] สดใส พันธุมโกมล. 2538. ศิลปะของการแสดง (ละคร
สมัยใหม่). กรุงเทพฯ: ส�ำ นักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหา-
วิทยาลัย.
[10] อัญชลี ชัยวรพร. 2548. ภาพยนตร์ทางเลือกและ
ทฤษฎีแนวคิดใหม่ เอกสารการสอนชุดวิชา ทฤษฎี
และการวิจารณ์ภาพยนตร์เบื้องต้น. กรุงเทพฯ:
ส�ำ นักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

30-08-2019

How to Cite

ปวิดาภา ก. (2019). การคัดเลือกและฝึกฝนนักแสดงสำหรับหนังสั้นในมิติเพศวิถีโครงการ. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 3(1), 92. https://doi.org/10.53848/irdssru.v3i1.212759