องค์ประกอบสำคัญในกำรพัฒนาขีดความสำมำรถเชิงธุรกิจ ของสหกรณ์การเกษตรสู่ความสำเร็จ

ผู้แต่ง

  • ณรงค์ศักดิ์ จักรกรณ์
  • ศรัณยา เลิศพุทธรักษ์
  • อดิศักดิ์ จันทรประภาเลิศ

DOI:

https://doi.org/10.53848/irdssru.v9i1.213768

คำสำคัญ:

สหกรณ์การเกษตร, องค์ประกอบสาคัญที่มีผลต่อความสาเร็จของสหกรณ์, ขีดความสามารถ เชิงธุรกิจ, การสร้างความเข้มแข็งให้กับสหกรณ์การเกษตร

บทคัดย่อ

งานวิจัยเรื่ององค์ประกอบสาคัญในการพัฒนาขีดความสามารถเชิงธุรกิจของสหกรณ์
การเกษตรสู่ความสาเร็จมีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1)สารวจและจาแนกองค์ประกอบสาคัญที่เป็นปัจจัยใน
การพัฒนาขีดความสามารถเชิงธุรกิจของสหกรณ์การเกษตร 2) ศึกษาความสัมพันธ์ขององค์ประกอบ
ต่าง ๆ กับความสาเร็จของสหกรณ์ และ 3)พัฒนาแบบจาลองในการพัฒนาขีดความสามารถเชิงธุรกิจ
ของสหกรณ์ วิธีการศึกษาเป็นการผสมผสานทั้งระเบียบวิธีวิจัยทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ การเก็บ
ข้อมูลเชิงคุณภาพ จัดสนทนากลุ่มกับสหกรณ์ที่ประสบความสาเร็จจานวน 4 สหกรณ์ การวิจัย
เชิงปริมาณ ประชากร คือ สหกรณ์การเกษตรที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานในปี 2558 เก็บข้อมูลโดยใช้
แบบสอบถาม ผู้ตอบแบบสอบถามคือประธานหรือผู้จัดการสหกรณ์การเกษตร จานวน 497 สหกรณ์
การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สมการเชิงโครงสร้าง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรม คอมพิวเตอร์
ผลการศึกษาพบว่า องค์ประกอบสาคัญที่มีผลต่อความสาเร็จของสหกรณ์ทั้งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม
อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ .05 ประกอบด้วย 1) ทุนภายในของสหกรณ์หรือคุณลักษณะขององค์กร
ประกอบด้วย การมีส่วนร่วมของสมาชิก การบริหารงานตามหลักและวิธีการสหกรณ์ คณะกรรมการที่มี
ความรู้ความสามารถ ซื่อสัตย์ เสียสละ ฝ่ายจัดการที่มีความรู้ความสามารถในการบริหารจัดการธุรกิจ
ความเข้มแข็งของทีมงาน 2) กระบวนการบริหารจัดการประกอบด้วย กระบวนการวางแผนยุทธศาสตร์
การมีกระบวนการบริหารจัดการธุรกิจที่ดีนอกจากนั้น ยังพบว่า ความสาเร็จที่เป็นรูปธรรมมีผลอย่างมาก
ต่อความสาเร็จที่เป็นนามธรรมด้วยเช่นเดียวกัน ความรู้จากงานวิจัยนี้ เป็นประโยชน์กับสหกรณ์
การเกษตรและผู้ที่เกี่ยวข้องนาไปประยุกต์ใช้ในการสร้างความเข้มแข็งให้กับสหกรณ์การเกษตรใน
ประเทศไทยโดยให้ความสาคัญกับการพัฒนาทุนภายในของสหกรณ์ และส่งเสริมให้สหกรณ์ตระหนักถึง
กระบวนการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมและ ธรรมาภิบาล

References

Aini, Y.Mahaziril, (2012). "Factors Affecting
Cooperatives’ Performance in
Relation to Strategic Planning and
Members’ Participation." Procedia-
Social and Behavioral Sciences.
65(0), 100-105.
Cameron. T. C., Ann-Frances (2007).
"External Relationships and the
Small Business: A Review of
Small Business Alliance and
Network Research.
http://www.ica.coop/en
Changjian, F. Xinhong, F. Chenzhoung, L.
(2011). Research on Performance
Evaluation of Farmer's Specialized
Cooperatives Selected from Hilly
Area, Sichuan Province, based on
Survey of thirteen Farmers Specialized
Cooperatives Interdisciplinary.
Journal of Contemporary Research in
Business. 3(3), 65-74.
Chiengkul, W. (2007). Toward New
Economic System Sufficiency
Economy have to go along with
Co-operatives. http://witayakornclub.
wordpress.com/2007/09/22/.
Cooperative Promotion Department.
(2015). The Information of
Cooperatives. Bangkok: Cooperative
Promotion Department. http://www.
cpd.go.th/more_news.php?cid=50.
Josepth F.Hair, Jr. et. al. (2014). A Primer
on Partial Least Squares
Structural Equation Modeling
(PLS-SEM). Singapore : SAGE
publications Asia-Pacific Pte.ltd.
Mazzarol, T, Richard A. Simmons, and
Elena Alexandra Mamouni Limnios.
(2011). "A conceptual framework
for research into co-operative
enterprise." Centre for
Entrepreneurial Management and
Innovation (CEMI) Discussion
PaperSeries No.DP1102 (ISSN 1448-
2541).
Mazzarol, T. (2009). "Co-operative
Enterprise." UWA Business School
University of Western Australia.
106.
Mazzarol, T., et al. (2013). "Co-operatives
as a strategic network of small
firms: Case studies from Australian
and French co-operatives." Journal
of Co-operative Organization and
Management. 1(1), 27-40.
National Cooperatives Development
Committee. (2012). National
Cooperatives Development
Plans. (2012-2016). Prepared by
the Institute for Policy and
Management., Chulalongkorn
University. Bangkok: Cooperatives
Promotion Department.
Palmer, A. (2011). Cooperatives marketing
associations: an investigating into
causes of effectiveness. journal of
Strategic Marketing. 12(2), 135-
156.
Patrawar, J. (2012). The Challenge for
Cooperatives when ASEAN
Community Establishment.
Bangkok: Co-operatives Academic
Institute Economic Faculty
Kasetsart University
Rajaei, Yadollah, JafarYaghoubi, and
Hamid Donyaei. (2011). "Assessing
effective factors in development of
entrepreneurship in agricultural
cooperatives of Zanjan province."
Procedia-Social and Behavioral
Sciences.15, 1521-1525. Street.
Senate Sub-Committee of Agriculture and
Agricultural organization. (2011).
Promotion and Provision
Cooperatives toward National
Agenda in Century Ceremony of
Cooperative establishment in
Thailand. Bangkok: Cooperatives
Promotion Department.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

02-09-2019

How to Cite

จักรกรณ์ ณ., เลิศพุทธรักษ์ ศ., & จันทรประภาเลิศ อ. (2019). องค์ประกอบสำคัญในกำรพัฒนาขีดความสำมำรถเชิงธุรกิจ ของสหกรณ์การเกษตรสู่ความสำเร็จ. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 9(1), 23. https://doi.org/10.53848/irdssru.v9i1.213768