คุณสมบัติของไม้ไทยที่เหมาะสมสาหรับทากีตาร์โปร่ง
DOI:
https://doi.org/10.53848/irdssru.v9i1.213778คำสำคัญ:
คุณสมบัติไม้ของไทย, กีตาร์โปร่ง, คุณภาพเสียงบทคัดย่อ
คุณภาพโดยการคัดเลือกไม้ของไทยที่มีคุณสมบัติใกล้เคียงกับคุณลักษณะของไม้ที่ใช้ทากีตาร์
โปร่ง แล้วนามาทดสอบตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ 1) เพื่อศึกษาคุณสมบัติของไม้ในประเทศไทยที่
เหมาะสมในการทากีตาร์โปร่ง 2) เพื่อสร้างกีตาร์โปร่งใช้ไม้ของไทยที่มีคุณสมบัติเหมาะสม 3) เพื่อ
ตรวจสอบคุณสมบัติเสียงกีตาร์โปร่งที่ทาจากไม้ไทย พบว่า การศึกษาคุณสมบัติของไม้ได้คัดเลือกไม้และทาการทดสอบไม้ในประเทศไทยที่มีคุณสมบัติใกล้เคียงกับไม้ที่ทากีตาร์โปร่งโดยทั่วไป มีส่วนประกอบของลาตัวกีตาร์ได้แก่ ไม้หน้า ไม้หลัง ไม้ข้าง ส่วนคอกีตาร์ประกอบด้วยไม้ทาคอกีตาร์ และฟิงเกอร์บอร์ด จากการทดลองพบคุณสมบัติใกล้เคียงได้แก่ ไม้หน้าใช้ไม้ขนุนกับไม้จาปา ไม้หลังและไม้ข้างใช้ไม้พะยูงกับไม้มะค่า คอใช้ไม้ตะเคียน ฟิงเกอร์บอร์ดใช้ไม้รักเขา ไม้ของไทยที่ผู้วิจัยนามาสร้างเป็นกีตาร์สามารถขึ้นรูปได้ จานวน 4 ตัว โดยใช้ไม้ตะเคียนทาคอและฟิงเกอร์บอร์ดใช้ไม้รักเขาทั้ง 4 ตัว ลาตัวไม้หน้าใช้ไม้ขนุนและจาปาส่วนไม้หลังใช้ไม้พะยูงกับไม้มะค่าสลับกันมีสเกลยาว 25.4 นิ้วรูปทรง เดรดนอต(Dreadnought) ในด้านการวัดคุณภาพของไม้วัดทั้งทางวิทยาศาสตร์และสุนทรียศาสตร์ คุณลักษณะของเสียงไม้ที่หน้าและไม้หลัง สรุปได้ดังนี้ไม้ขนุน ให้เสียงอบอุ่น เสียงแหลมไม่ชัด เสียงกลางและเสียงเบสดี ไม้จาปาให้เสียงแหลม เสียงกลางชัดเจน เสียงเบสเบา ไม้พะยูงให้เสียงชัดเจน ดังกังวานสะท้อนเสียงได้ดี ไม้มะค่าการสะท้อนเสียงไม่มาก เสียงไม่ดังกังวาน
References
guitar the llustrated encyclopedia.
San Diego: Advantage Pubishers
Group.
Benedetto, R. (1994). Making an archtop
guitar. USA: Hal Leonard.
Bogdannovich, J S. (2007). Classical guitar
making. New York: Sterling
Publishing Co., Inc.
Chonpairoj, J. (1983). Music and the
Northeast Basics Maha Sarakham
: Department of Orchestral Faculty
of Humanities and Social Sciences
Srinakharinwirot University, Maha
Sarakham.
Cumpiano, W. R. and Natelson, Jonathan
D.(1993). Guitar making. Tradition
and teahnology. USA: Chronicle
Books LLC.
Department of Public Works and Town &
Country Planning (2007). Wood
testing standards. 25 September
2011. http://www.eservices.dpt.go.
th>standard>data>sdw.
Kinkead, J. (2004). Build your own
acoustic guitar. USA: Hal Leonard.
Levan, J. (2006). Guitar setup,
maintenance & repair. USA: Mel
Bay.
Pedgly, Owain. (2006). Centre for
material and structures. 3 August,
2011, http:// www.liverpool.ac.uk.
Pornprasit, K. (2005). Northeastern Thai
music culture. Bangkok:
Chulalongkorn University.
Robinson,L.(2003). A Guitarmaker’s
Canvas : The Inlay Art of Grit
Laskin. San Francisco: Backbeat
Books.
Rodriguez, M. (2003) .The art and craft
of making classical guitar. USA:
Hal Leonard.
Sandberg, L. (2000). The acoustic guitar
guide. USA: Backbeat Books.
Shaheen, P. M. (2004). Sensivity Analysis
of the natural frequency and
modal effective weight of mode
(0,0) of top and back plate of
an acoustic steel-string guitar.
USA: California State University
Sodsuchart, K. (2005). The Guitar Mag.
Bangkok: Sawang Printing.
Williams, J. (1990). A Guitar Maker’s
Manual. Australia: Hal Leonard.
Willis, A. (2006). Step By Step Guitar
Making. United Kingdom: GMC
Pubications.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว