การประเมินความต้องการจาเป็นในการพัฒนาความสามารถในการทาวิจัย สาหรับนิสิตหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต
DOI:
https://doi.org/10.53848/irdssru.v9i1.213800คำสำคัญ:
การประเมิน, ความต้องการจาเป็น, ความสามารถในการทาวิจัย, นิสิตบทคัดย่อ
การวิจัยนี้ศึกษาความต้องการจาเป็นในการพัฒนาความสามารถด้านวิจัยของนิสิตหลักสูตร
การศึกษาบัณฑิต และจัดลาดับความต้องการจาเป็น รวมถึงศึกษาแนวทางการพัฒนาความสามารถใน
การทาวิจัยของนิสิต กลุ่มเป้าหมายจาแนกเป็น 2 กลุ่ม คือ นิสิตชั้นปีที่ 5 หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีการศึกษา 2558 จานวน 402 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้นและ
อาจารย์ผู้สอนรายวิชาการวิจัยทางการศึกษา เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน จานวน 10 คน เครื่องมือใน
การวิจัย มี 2 ฉบับ คือ แบบสอบถามความต้องการจาเป็นในการพัฒนาความสามารถในการทาวิจัย ของ
นิสิตหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า รูปแบบการตอบสนองคู่ มีค่า
ความเที่ยง (-Coefficient) เท่ากับ 0.972 และแนวทางการสนทนากลุ่มเกี่ยวกับความต้องการจาเป็นและแนวทางในการพัฒนาความสามารถในการทาวิจัย ผลพบว่า นิสิตมีความต้องการจาเป็นในการ
พัฒนาความสามารถในการทาวิจัย ด้านความสามารถใน การนาเสนอผลการวิจัยต่อสาธารณะชน
มากที่สุด และทฤษฏีการเรียนรู้ที่เหมาะสาหรับนาไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ในรายวิชาการวิจัยทาง
การศึกษาเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาความสามารถในการทาวิจัยของนิสิต คือ ทฤษฎี
การสร้างความรู้ด้วยตนเอง โดยรูปแบบการเรียนรู้ที่เกิดจากแนวคิดนี้ที่เหมาะสมในการนามาใช้ คือ
การจัดการเรียนรู้โดยใช้การวิจัยเป็นฐาน และการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน โดยที่กิจกรรม
ภายใต้รูปแบบการเรียนรู้ ต้องเป็นกิจกรรมที่ตรงกับความสนใจของผู้เรียน และมีความหลากหลาย
ส่วนการประเมินผลการเรียนรู้ผู้เรียน เน้นการประเมินเพื่อพัฒนา เพื่อให้ผลย้อนกลับต่อการจัด
การเรียนรู้
References
Development of the Research
Teacher in the Classroom of the
Professional Teaching Student. A
dissertation for the Doctor of
Philosophy Program in Curriculum
Research and Development.
Graduate School. Srinakharinwirot
University.
Bureau of Education Testing, Office of the
Basic Education Commission. (2011).
Guideline for quality assessment
on basic education for the
educational institute’s internal
quality assurance. Bangkok: Office
of National Buddhism Printing.
Bureau of Teacher Education and
Personnel Development. (2010).
Teacher performance assessment
manual (revisied). Bangkok: n.p.
Flake, C. L. & Kuhs, T. (1995). Reinventing
the role of teacher: Teacher as
researcher. Phi Delta Kappan, 76
(5), 405.
Fueyo, V. & Neves, A. (1995). Preservice
teacher as researcher: a research
context for change in the
heterogeneous classroom. Action in
teacher education, 16 (4), 39 -49.
Kerlinger, F. N. (1986). Foundations of
behavioral research. (3rd ed.). New
York: Holt Rinehart and Winston.
Kijpreedaborrisut, B. (2004). Social
research methodology. (8th ed.).
Bangkok: Jarmjuri Product.
Kongsumrit, P. (2005). A model for
promoting on research ability of
professional nurses of Raj –
Pracha Samasai Institute,
Department of Disease Control,
Ministry of Public Health. A
dissertation for the Doctor of
Philosophy Program in Applied
Behavioral Science Research.
Graduate School. Srinakharinwirot
University.
Naiyapat, O. (2014). Quantitative and
qualitative research methodology.
(2nd ed.). Bangkok: Sarmlada LP.
Office of the Education Council, Ministry
of Education. (2010). Proposal on
Education Reformation of the
Second Decade (2552-2561BE).
(4th ed.). Bangkok: Prikwhankarnpim.
Office of the National Educational
Commission. (2002). Learnedoriented
learning reformation.
(3rd ed.). Bangkok: Pimdee.
Office of the National Research Council of
Thailand. (2012). Research code of
conduct and code of practice.
(2nd ed.). Bangkok: Chulalongkorn
Proampichai, S. (2010). Curriculum
development – marketing research
operation for improving marketing
research competency, for
student of high vocational
certificate. A thesis for the Doctor
of Philosophy Program in
Curriculum and Teaching. Graduate
School. Naresuan University.
Srinakharinwirot University. (2010).
Complement documents for onthe-
job seminar and experience
training for bachelor of education
program’s student (5-Year B. Ed.)
during the 2nd Semester of the
Academic Year 2010.
Srinakharinwirot University. (2014). TQF 3
course specification of ED 471
educational research for learning
and teaching development.
Suwannoi, P. (n.d.). Problem-based
learning: PBL. Assessed on March
27th 2016, from http://ph.kku.ac.th
/thai/index.php/student/2013- 05-
09-17-53-61/38-km-2556/499-2015-
10-01-08-53-02.
Thammachart J, (2009). Research and
development of the researchbased
learning management
style for education research
subject. Department of Educational
Evaluation and Research. The
Faculty of Education. Prince of
Songkla University. Pattani Campus.
The Faculty of Education. (2009). ED 561
teaching procedure and
experience training, Teacher
Education Curriculum of the
Fundamental Education Program
for Bachelor Degree (5-Year
Curriculum) Professional Teacher –
Subject Manual. Srinakharinwirot
University.University Press.
Vichitwanna, S. (2013). Teaching and
learning development research.
Bangkok: Jaroendimunkoangkarnpim
Company Limited.
Wongwanich, S. (2012). Classroom action
research. (16th Ed.). Bangkok:
Chukakongkorn University Press.
Wongwanich, S.. (2015). Needs assessment
research. (3rd ed.). Bangkok:
Chulalongkorn University Press.
Worrakijkasemkul, S. (2010). Behavioral
science and social science
research methodology. (2nd ed.).
Udon Thani: Aksornsilkarnpim.
Worrakum, P. (2013). Educational
research. (6th ed.). Maha Sarakham:
Tuksilakarnpim.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว