บทบาทผู้บริหารกับการนานวัตกรรมการศึกษาสู่การปฏิบัติ : กรณีโรงเรียนคูคาพิทยาสรรพ์

ผู้แต่ง

  • ศศิรดา แพงไทย

DOI:

https://doi.org/10.53848/irdssru.v9i1.213804

คำสำคัญ:

บทบาทผู้บริหาร นวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียน

บทคัดย่อ

ใช้นวัตกรรมการศึกษา ชั้นเรียน และวิธีการแบบเปิด 2) ศึกษาบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาใน
การนานวัตกรรมทางการศึกษาสู่การปฏิบัติ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพและการวิจัยเชิงปริมาณ ประชาการ
และกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้บริหารสถาณศึกษา ครูผู้สอน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและผู้ปกครองนักเรียน โรงเรียนคูคาพิทยาสรรพ์ จานวน 122 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล ได้แก่แบบสัมภาษณ์ แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ โดยใช้สถิติเชิงบรรยาย และข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการวิเคราะห์เนื้อหา สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานผลการวิจัยพบว่า 1) ด้านบริบท โรงเรียนคูคาพิทยาสรรพ์ ได้รับการคัดเลือกเป็นโรงเรียน
ทดลองนาร่อง การใช้นวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียน โดยมหาวิทาลัยขอนแก่น ภายใต้โครงการโรงเรียนใน
ฝันเพาะปัญญา ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ด้านปัจจัย มีการจัดสรรงบประมาณ
เพื่อการใช้นวัตกรรมของโรงเรียน โดยจัดเตรียมสิ่งอานวยความสะดวก เช่น สื่อ ครุภัณฑ์ และอาคาร
สถานที่ มีผู้เชี่ยวชาญภายนอกจากสถาบันอุดมศึกษาเข้ามาร่วม ในกระบวนการใช้นวัตกรรม ด้านกระบวนการมีการวางแผนการใช้นวัตกรรม กาหนดปฏิทินการดาเนินงาน การร่วมสร้างแผนการจัดการเรียนรู้การสังเกตชั้นเรียน และการสะท้องผลการจัดการเรียนรู้ ผู้บริหารเข้าร่วมในกระบวนใช้นวัตกรรม
ทุกกิจกรรม และ ผลการการใช้นวัตกรรม โรงเรียนได้รับการคัดเลือกให้เป็นต้นแบบการใช้นวัตกรรม
จากมหาวิทยาลัยขอนแก่น และเป็นแหล่งศึกษาดูงานจากหน่วยงานทางการศึกษา คณะผู้บริหาร ครูจาก
ทั่วประเทศ ครูมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการสอน มีการจัดการเรียนการสอนตอบสนองต่อความ
ต้องการของผู้เรียน มีการทางานเป็นทีม ครูพัฒนาวิชาชีพ ผู้เรียน กล้าคิดกล้าแสดงออกอย่างมีเหตุผล
มีความเชื่อมั่นในตนเอง มีความเป็นผู้นา สถานศึกษามีเอกลักษณ์ของตนเอง มีระบบการนิเทศภายในที่
เข้มแข็ง เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ ชุมชนพึงพอใจและมีส่วนร่วม 2) ด้านบทบาทของผู้บริหารใน
ภาพรวมทั้ง 4 ด้านอยู่ในระดับมาก ส่วนในรายด้านพบว่า ด้านการเป็นผู้อานวยความสะดวก ผู้ตอบ
แบบสอบถามเห็นด้วยมากที่สุด รองลงมาคือ การเป็นผู้นานวัตกรรม การเป็นผู้นา และการเป็น
ผู้สนับสนุนตามลาดับ

References

Boonprasert, U. (1999). A Study
administration and management of
educational institutions. In the
management model used by School –
Based Management. Bangkok.
Inprasit, M. (2011). Synthesis management
job fairs in schools. Using
innovative education class
(Lesson. Study) and open
approach (Open. Approach).
Lewis, C. (2002). Lesson study: A
handbook of teacher-led
Instructional change. Philadelphia:
Research for better schools, inc.
Maneewong,S. (2013). Studies class
(Lesson Study) to the practice of
basic education. Thailand. thesis
Doctor of Education Khonkaen
University.
Pitayanuwat,S. (2000). Licenses career
management performs the
symposium received. opinions
and four regional bangkok.
Bangkok: funny lising.
Pongsriwat,S. (1989). Leadership. Bangkok:
.Asia Press.
Rogers, E. M. (1995). Diffusion of
innovations. (4th ed.). New York:
Free Press.
Saratana, W. (1999). Management principles
theory and educational issues.
Bangkok: Tipayavisut Printing.
Sinlarat, P. (2009). Strategy driven
innovation transitions the study
"Satasila" to the school. Bangkok:
Prigwan Graphic.
Yoshida, M. (2006). An overview of
lesson study. In Building our
understanding of lesson study
(pp. 1 - 12). Philadelphia: Research
for better schools Inc.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

02-09-2019

How to Cite

แพงไทย ศ. (2019). บทบาทผู้บริหารกับการนานวัตกรรมการศึกษาสู่การปฏิบัติ : กรณีโรงเรียนคูคาพิทยาสรรพ์. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 9(1), 124. https://doi.org/10.53848/irdssru.v9i1.213804