อัตลักษณ์ของนักศึกษาพยาบาล มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
DOI:
https://doi.org/10.53848/irdssru.v9i1.213807คำสำคัญ:
อัตลักษณ์, กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ, นักศึกษาพยาบาลบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับอัตลักษณ์ของนักศึกษาพยาบาล
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เป็นการวิจัยเชิงสารวจ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ อาจารย์พยาบาล นักศึกษา
พยาบาล และผู้ใช้บัณฑิตในแหล่งฝึกปฏิบัติการพยาบาล เลือกกลุ่มตัวอย่างโดยการสุ่ม จานวน 300 คนเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับอัตลักษณ์ของนักศึกษาพยาบาล มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ประกอบด้วย 6 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2) ด้านความรู้ 3) ด้านทักษะทางปัญญา 4) ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5) ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และ 6) ทักษะการปฏิบัติทางวิชาชีพ รวบรวมข้อมูลโดยใช้
แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ คือ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุ 20-25 ปี ร้อยละ 66.7 ความคิดเห็น
เกี่ยวกับอัตลักษณ์ ของนักศึกษาพยาบาล ค่าเฉลี่ยโดยรวมทุกด้านอยู่ในระดับมาก (mean = 3.83,
SD = .62) และเมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านที่ค่าเฉลี่ยสูงสุด 3 ลาดับแรกคือ ด้านคุณธรรม
จริยธรรม ทักษะการปฏิบัติทางวิชาชีพและด้านทักษะทางปัญญา (Mean =3.85 ,S.D. = 0.66;
Mean = 3.84, S.D. = 0.63; Mean = 4.84, S.D. = 0.62) ตามลาดับ เมื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของความคิดเห็นเกี่ยวกับอัตลักษณ์นักศึกษาพยาบาล ในกลุ่มอาจารย์ นักศึกษาพยาบาลและผู้ใช้บัณฑิตในแหล่งฝึกปฏิบัติการพยาบาล พบว่า กลุ่มตัวอย่างทุกกลุ่มมีความคิดเห็นเกี่ยวกับอัตลักษณ์ของนักศึกษาพยาบาลไม่แตกต่างกันข้อเสนอแนะ วิทยาลัยพยาบาลและสุขภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ควรนาผลการศึกษาไปเป็นแนวทางในการวางแผนจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาอัตลักษณ์ และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของนักศึกษาพยาบาลให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้บัณฑิตต่อไป
References
nursing: Are we there yet? Nurse
Education Today. 32(8), 846–849.
College of Nursing and health. (2012).
Nursing Curriculum. Suan Sunandha
Rajabhat University.
Crigger, N., & Godfrey, N. (2014). From the
inside out: a new approach to
teaching professional identity
formation and professional ethics.
Journal of Professional Nursing.
30 (5), 376–382.
Gaewgoontol, N. et, al. (2011). The Study
of working performance satisfaction on
the graduate nurses in 2007 from
boromarajonani college of nursing,
nakhon ratchasima. Journal of
Nurse’ Associated of Thailand,
North-Eastern Division. 29 (1), 68-75.
Horowitz, M. J. (2012). Self-identity theory
and research methods. Journal of
Research Practice. 8(2), 1-11.
Khamthana, P. et, al. (2011). Desirable
features of nursing graduates
according to the needs of society
: Boromarajonani college of
nursing. Ratchaburi.
Sirisupluxana, P. (2013). Teaching nursing
students to develop critical
thinking skills. The Journal of
Boromarajonani College of
Nursing, Nakhonratchasima. 19(2),
5-19.
Sundler, A. J., Pettersson A. & Berglund M.
(2015). Undergraduate nursing students'
experiences when examining
nursing skills in clinical simulation
laboratories with high-fidelity patient
simulators: A phenomenological
research study. Nurse Education
Today. 35, 1257–1261.
Ufkes E. G., et.al (2015). Understanding
how common ingroup identity
undermines collective action among
disadvantaged -group members.
Journal of Experimental Social
Psychology. 63, 26–35.
Wattananon, W., Mangpan, K. &
Krongthong, T. (2012). Selfdevelopment
through contemplative
education for teacher counseling,
Boromarajonani College of Nursing,
Khon Kaen. Journal of Nursing
Science & Health Vol 35 (1), 59 –
68.
Yu-Fang Haoa., et. al, (2014).
Measurement of professional
identity in Chinese nursing
students. International Journal of
Nursing Sciences. 1(2), 137–144.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว