กลยุทธ์การนาหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานของฝ่ายซ่อมใหญ่ อากาศยานอู่ตะเภาบริษัทการบินไทย จากัด (มหาชน)

ผู้แต่ง

  • ทรงกลด สุขสมใจ
  • นัยนา เกิดวิชัย

DOI:

https://doi.org/10.53848/irdssru.v9i1.213810

คำสำคัญ:

กลยุทธ์การบริหารงาน, ธรรมาภิบาล, การบินไทย

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาสภาพการบริหารงาน 2) เพื่อศึกษาระดับ
ธรรมาภิบาลในการบริหารงาน และ 3) เพื่อสร้างกลยุทธ์การนาหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานของ
ฝ่ายซ่อมใหญ่อากาศยานอู่ตะเภา บริษัทการบินไทย จากัด (มหาชน) ผู้วิจัยได้ทาการศึกษาทั้งการวิจัย
เชิงปริมาณ และการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยกลุ่มตัวอย่างในเชิงปริมาณได้แก่ พนักงานของฝ่ายซ่อมใหญ่
อากาศยานอู่ตะเภา บริษัทการบินไทย จากัด (มหาชน) จานวน 253 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เชิงปริมาณ ได้แก่ แบบสอบถาม ในขณะที่การวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้วิจัยได้แบ่งกลุ่มตัวอย่างเป็น 2 กลุ่ม
ได้แก่ 1) กลุ่มผู้บริหารระดับนโยบาย 2) กลุ่มผู้นานโยบายไปปฏิบัติจานวน 18 คน โดยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่การศึกษาเอกสารและข้อมูลสาระสนเทศต่าง ๆ การสัมภาษณ์เชิงลึกการสังเกตการณ์
แบบมีส่วนร่วมและไม่มีส่วนร่วม การสนทนากลุ่ม การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณใช้โปรแกรมสาเร็จรูป
คอมพิวเตอร์ การวิจัยเชิงคุณภาพใช้วิธี การวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า กลยุทธ์การนาหลัก
ธรรมาภิบาลในการบริหารงานฝ่ายซ่อมใหญ่อากาศยานอู่ตะเภา บริษัทการบินไทย จากัด (มหาชน) เป็นกลยุทธ์ที่ได้มาจากการประเมินสภาพบริหารงานของฝ่ายซ่อมใหญ่อากาศยานอู่ตะเภา บริษัทการบินไทย จากัด(มหาชน) ตามทฤษฏีกระบวนการบริหารงาน POSDCORB ทั้ง 7 ด้าน แล้ววิเคราะห์สภาพการบริหารงานด้วยหลักธรรมาภิบาล 6 ด้าน กลยุทธ์ที่เน้นการนาหลักธรรมาภิบาล เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงานของผู้บริหารฝ่ายซ่อมใหญ่อากาศยานอู่ตะเภา มีดังนี้ 1) กลยุทธ์ด้านหลักนิติธรรม2) กลยุทธ์ด้านหลักคุณธรรม 3) กลยุทธ์ด้านความโปร่งใส 4) กลยุทธ์ด้านการมีส่วนร่วม 5) กลยุทธ์ด้านการมีสานึกรับผิดชอบ 6) กลยุทธ์ด้านหลักความคุ้มค่า

References

Aldag, R.J. & Stearns. (1987). Management.
Ohio: South- Western.
Boutros-Ghali, Boutros. (2000). “An
Agenda for Democratization,” in
Global Democracy, Barry Holden
(ed), New York: Routledage, Dahl,
Robert A. On Democracy. New
Haven and London, Yale University
Press, Denhardt.
Daft, R.L. (1991). Fundamental of
management. 8th. Ed. Orando:
The Dryden press.
Inc. S. (2007). Focus Group Discussion.
2551. http://sumon-graduate.blogspot.
com/2007/07/focus-group-discussion.
html, https://www.gotoknow.org/posts
/450366
Janet V. and Robert B. Denhardt. (2003).
The New Public Service: Serving,
not Steer. New York: M.E. Sharpe.
Norasetthaporn, C. (2002). Good
governance in the sense of the
state sector and the private sector
people: In The case of power plant
coal. "The Rock," A thesis state
bachelor Ph.D. in political science,
Political Science, Chulalongkorn University.
Samudavanija. C. (1998). Good Governance
practices to the transformation
of the education–The politic
transformation.
Thabchumpon, N. (1998). Ideas and
discourse that with the" Governance,
national" in Politic management.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

02-09-2019

How to Cite

สุขสมใจ ท., & เกิดวิชัย น. (2019). กลยุทธ์การนาหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานของฝ่ายซ่อมใหญ่ อากาศยานอู่ตะเภาบริษัทการบินไทย จากัด (มหาชน). วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 9(1), 146. https://doi.org/10.53848/irdssru.v9i1.213810