การพัฒนารูปแบบการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมของชุมชนตาบลท่าม่วง อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด โดยใช้กระบวนการทางสิ่งแวดล้อมศึกษา

ผู้แต่ง

  • ศักดิ์ศร สืบสิงห
  • กชพร น ำนำผล
  • นิธินำถ อุดมสันต
  • สุภิมล บุญพอก

DOI:

https://doi.org/10.53848/irdssru.v9i1%20SUP.213857

คำสำคัญ:

กำรอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม, กำรพัฒนำรูปแบบ, หลักกำรสิ่งแวดล้อมศึกษำ

บทคัดย่อ

กำรวิจัยมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษำวิธีกำรและแนวทำงกำรอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ของชุมชนตำบลท่ำม่วง
อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อพัฒนำรูปแบบกำรอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ของชุมชนตำบลท่ำม่วง อำเภอ
เสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด โดยใช้กระบวนกำรทำงสิ่งแวดล้อมศึกษำ 3) เพื่อส่งเสริมกำรอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
ของชุมชนตำบลท่ำม่วง อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด ให้คงอยู่อย่ำงยั่งยืน กลุ่มตัวอย่าง ระยะที่ 1 วิจัยเชิงปริมำณ
โดยใช้แบบ Survey Research กลุ่มตัวอย่ำง ได้แก่ ประชำชนที่อำศัยอยู่ในเขตตำบลบ้ำนท่ำม่วง ตำบลท่ำม่วง
อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด โดยใช้กำรคำนวณจำกสูตรของ ยำมำเน่ (Yamane, 1973) จำนวน 400 คน
ระยะที่ 2 วิจัยเชิงกึ่งทดลองแบบ Quasi - experiment Research กลุ่มตัวอย่ำง ได้แก่ ประชำชนที่อำศัย
อยู่ในเขตตำบลบ้ำนท่ำม่วง ตำบลท่ำม่วง อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด จำนวน 200 คน ได้มำจำกกำรเลือก
แบบเจำะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในกำรวิจัยครั้งนี้ ประกอบด้วย แบบสอบถำม แบบทดสอบ
แบบประเมิน แบบสังเกต และคู่มือกำรอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมของชุมชน สถิติที่ใช้ในกำรวิเครำะห์ข้อมูล ได้แก่ สถิติพื้นฐำน
และใช้สถิติ Pair t-test และใช้สถิติ One way ANOVA เพื่อวิเครำะห์ข้อมูลในกำรวิจัยกึ่งทดลอง ผลกำรวิจัยพบว่ำ
1. ประชำชนในชุมชนตำบลท่ำม่วง อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด มีวิธีกำรและแนวทำงกำรอนุรักษ์
สิ่งแวดล้อมอยู่ในระดับมำก มีค่ำเฉลี่ย 3.83 ส่วนเบี่ยงเบนมำตรฐำนเท่ำกับ 0.69 โดยด้ำนแรงบันดำลใจในกำรอนุรักษ์
สิ่งแวดล้อมมำกที่สุด รองลงมำคือ ด้ำนสิ่งแวดล้อมศึกษำ และด้ำนพฤติกรรมกำรอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ตำมลำดับ
2. กำรพัฒนำรูปแบบกำรอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมของประชำชนในชุมชนตำบลท่ำม่วง อำเภอเสลภูมิ
จังหวัดร้อยเอ็ด ภำยหลังจำกกำรอบรมเชิงปฏิบัติกำรอย่ำงมีส่วนร่วมแบบพำอิก (PAIC) ทำให้ประชำชนใน
ตำบลท่ำม่วง อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด มีกำรดำเนินโครงกำรจำนวน 3 โครงกำร ได้แก่ โครงกำรปลูกป่ำ
โครงกำรบริหำรจัดกำรน้ำ และโครงกำรเกษตรอินทรีย์ เป็นต้น ซึ่งผลกำรดำเนินกำรโครงกำรนำร่องอยู่ใน
ระดับดีมำกทั้ง 3 โครงกำร รวมทั้งภำพรวมของกำรดำเนินโครงกำรทั้ง 3 โครงกำรนำล่องที่เลือกมำดำเนินกำร
อยู่ในระดับมำกเช่นกัน
3. กำรพัฒนำรูปแบบกำรอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมของประชำชนในชุมชนตำบลท่ำม่วง อำเภอเสลภูมิ
จังหวัดร้อยเอ็ด จำกกำรฝึกอบรมเชิงปฏิบัติกำรอย่ำงมีส่วนร่วมแบบพำอิก (PAIC) ทำให้ประชำชนมีพฤติกรรม
และควำมรู้เกี่ยวกับกำรอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมเพิ่มมำกขึ้น กำรสนทนำแลกเปลี่ยนประสบกำรณ์ซึ่งกันและกัน
ทำให้ประชำชนมีควำมเข้ำใจและควำมตระหนักเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมศึกษำและกำรอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
จนได้รูปแบบที่ดีและใช้ประโยชน์ในอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและกำรอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมได้ จึงควรนำเอำรูปแบบ
กำรพัฒนำดังกล่ำวไปใช้ในพื้นที่อื่น ๆ ที่มีลักษณะคล้ำยคลึงกันต่อไป

References

Bhanthumnavin, D. (2008). Ethics Psychology and
Language Psychology. Bangkok:
Thai Wattana Panich.
Chanaboon, P. (2007) The Development
of An Environmental Education
Training Model on The Community
Wastewater Management for
The Community Committee in
Khon Kaen Municipality. Master
Education (Environmental Education
Mahidol University.
Gonggool, D., Thiengkamol, N., & Thiengkamol,
C. (2012). Development of
Environmental Education Volunteer
Network through PAIC Process.
European Journal of Social
Sciences, 32 (1): 136-149.
Thianpoe, S. (2006). Community Development
Citizen Participation Corrobative
Community Project Police
stations Thailand Pratumthani
province.Master of Arts (Sociology
and Anthropology), Graduate
School Chulalongkorn University.
Thiengkamol, N. (2011). Holistically Integrative
Research. 2
nd Edition. Bangkok:
Chulalongkorn University.
Thiengkamol, N. (2012). Development of
Food Security Management for
Undergraduate Student Mahasarakham
University. European Journal of
Social Sciences, 27 (2): 246-252.
Yuekyen, W. (2012). People’s Participation
of Natural Resources and
Environment Conservation in
Hua Hin Municipal, Hua Hin
District,Prachuap Khiri khan
Province Master of Arts (Applied
Sociology) Kasetsart University

Downloads

เผยแพร่แล้ว

02-09-2019

How to Cite

สืบสิงห ศ., น ำนำผล ก., อุดมสันต น., & บุญพอก ส. (2019). การพัฒนารูปแบบการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมของชุมชนตาบลท่าม่วง อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด โดยใช้กระบวนการทางสิ่งแวดล้อมศึกษา. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 9(1 SUP), 1. https://doi.org/10.53848/irdssru.v9i1 SUP.213857