การสื่อสารอัตลักษณ์ชาติพันธุ์ลาวเวียงของวัดในอาเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี

ผู้แต่ง

  • วนิดา ตรีสวัสดิ์

DOI:

https://doi.org/10.53848/irdssru.v9i1%20SUP.213862

คำสำคัญ:

การสื่อสาร, อัตลักษณ์, ชาติพันธุ์, วัด, ลาวเวียง

บทคัดย่อ

การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการสื่อสารอัตลักษณ์ชาติพันธุ์ลาวเวียงของวัดในอาเภอ
โพธาราม จังหวัดราชบุรี และหาแนวทางการอนุรักษ์อัตลักษณ์ชาติพันธุ์ลาวเวียงของวัดในอาเภอโพธาราม
จังหวัดราชบุรี ใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพศึกษาวัด จานวน 70 แห่ง โดยการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
เช่น ปราชญ์ชาวบ้าน ผู้นากลุ่มชาติพันธุ์ลาวเวียง เจ้าอาวาส ร่วมกับการสารวจเอกสาร การสารวจวัด
และการสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วมสิ่งปลูกสร้างในวัด กิจกรรม และประเพณีพิธีกรรมของชาวลาวเวียง
ทั้งทางสังคม ศาสนา และวัฒนธรรมที่กระทาโดยใช้พื้นที่ของวัด ผลพบว่า ลาวเวียงในอาเภอโพธาราม
สืบเชื้อสายมาจากชาวลาวที่อพยพมาจากเวียงจันทน์เพราะสงคราม และสร้างวัดขึ้นในชุมชนเพื่อเป็น
ศูนย์รวมจิตใจของกลุ่มชาติพันธุ์ วัดที่สื่อสารอัตลักษณ์ของลาวเวียงที่เป็นรูปธรรมจากสิ่งปลูกสร้างในวัด
คือ สิมลาวที่วัดกาแพงเหนือ และหอวัฒนธรรมลาวเวียงที่วัดโบสถ์ การสื่อสารอัตลักษณ์ของชาวลาวเวียง
ด้านจิตใจสะท้อนผ่านพิธีกรรม ความเชื่อ เช่น การสวดสู่ขวัญนาคด้วยภาษาลาว ความเชื่อเรื่องผีบรรพบุรุษ
ความศรัทธาในพุทธศาสนาผ่านประเพณีต่าง ๆ เช่น บุญข้าวจี่ในวันขึ้น 15 ค่า เดือน 3 แห่ดอกไม้ท้ายสงกรานต์
แก้ห่อข้าววันสารทลาว แนวทางการอนุรักษ์อัตลักษณ์ชาติพันธุ์ลาวเวียงของวัดในอาเภอโพธาราม คือ
ใช้ศรัทธาและความเชื่อในพุทธศาสนาสืบทอดประเพณีจากรุ่นสู่รุ่น สร้างความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันระหว่าง
ชาวลาวเวียง และระหว่างวัด รวมทั้งอนุรักษ์สิ่งปลูกสร้างในวัดที่แสดงอัตลักษณ์ลาวเวียงไว้ให้อนุชน
ภาคภูมิใจ ได้เรียนรู้ และสืบทอดต่อไป

References

Boonme, T. (2004). Diversity of Life and
Cultural Diversity. Bangkok: Saitan.
Herberg, W. (1983). Protestant, Catholic,
Jew Protestant--Catholic--Jew: An
Essay In American Religious
Sociology (3nd ed). Chicago, IL:
University of Chicago Press.
Patamajorn, R. (2001). Role of Chinese
Shrine in Maintaining Chinese
Identity: A Study in Amphoe
Muang Nakhon Pathom Province.
Master Degree of Arts Thesis
(Anthropology). Graduate School,
Chulalongkorn University.
Ratchaburi Province. (2015). General data
of Ratchaburi Province. Ratchaburi:
The office of Ratchaburi Province.
Ritpen, S. (2012). Role of Temples in
Thailand for Transmitting Chan
Language and Culture in
Chiengmai Province. Center for
Research on Plurality in the Mekong
Region (CERP). Faculty of Humanities and
Social Sciences, Khonkaen University.
Study of Ratchaburi. (2016). 8 Ethnics in
Ratchaburi Province. Search on 3
March 2016, from http://www.ratchaburi.
go.th/culture/people/index.htm.
Sutthipun, A. (1985). History of Important
Buddhism Temples. Bangkok:
religious Affairs Department, Ministry of
Education.
The Cultural Office of Ratchaburi Province.
(2004). 8 Ethnics in Ratchaburi
Province (2nd ed). Ratchaburi:
Thammarug Kanpim.
The Cultural Office of Ratchaburi Province.
(2010). The Report of Annual
Performance of 2009 Fiscal Year.
Ratchaburi: Author.
Wetchawong, D. (2011). The Presentation of
the Yuan Ethnic Identity in the
Context of Tourism Vai Local
Museum and Riverside Market: A
Case Study of Yuan Community,
Tontan, Sao Hai District, Saraburi
Province. Academic Services Journal
Prince of Songkla University. 22(3
September-December), 130-147.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

02-09-2019

How to Cite

ตรีสวัสดิ์ ว. (2019). การสื่อสารอัตลักษณ์ชาติพันธุ์ลาวเวียงของวัดในอาเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 9(1 SUP), 11. https://doi.org/10.53848/irdssru.v9i1 SUP.213862