การจัดการศึกษาปฐมวัยของโรงเรียนอนุบาลเทศบาลตาบลเมืองคง ด้วยหลักองค์รวม: การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม
DOI:
https://doi.org/10.53848/irdssru.v9i1%20SUP.213876คำสำคัญ:
การศึกษาปฐมวัย, หลักองค์รวม, การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมบทคัดย่อ
การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพที่เคยเป็นมา สภาพปัจจุบัน สภาพปัญหา
สภาพที่คาดหวัง ทางเลือกเพื่อแก้ปัญหาหรือบรรลุสภาพที่คาดหวัง และการเลือกทางเลือกเพื่อกาหนด
เป็นแผนปฏิบัติการในการจัดการศึกษาปฐมวัยของโรงเรียนอนุบาลเทศบาลตาบลเมืองคง และ 2) ศึกษา
ปรากฏการณ์ของการปฏิบัติ การเปลี่ยนแปลง การเรียนรู้จากการกระทาทั้งระดับตัวบุคคล ระดับกลุ่มบุคคล
และระดับองค์กร ด้วยกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม กลุ่มเป้าหมายคือโรงเรียนอนุบาล
เทศบาลตาบลเมืองคง อาเภอคง จังหวัดนครราชสีมา ผู้ร่วมวิจัยคือ ผู้มีส่วนได้เสียของโรงเรียนอนุบาล
เทศบาลตาบลเมืองคง จานวน 65 คน ได้แก่ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จานวน 11 คน
ผู้ปกครองนักเรียน จานวน 35 คน และครูผู้สอนระดับชั้นอนุบาล จานวน 19 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
คือ แบบสังเกต แบบสัมภาษณ์เชิงลึก และแบบตรวจสอบหรือบันทึก
ผลการวิจัยพบว่า 1) โรงเรียนอนุบาลเทศบาลตาบลเมืองคง เป็นโรงเรียนที่จัดตั้งใหม่ตาม
นโยบายผู้บริหารเทศบาลตาบลเมืองคง เพื่อต้องการแบ่งเบาภาระของผู้ปกครองในการเลี้ยงดูบุตร
โดยดาเนินการจัดการศึกษาสอดคล้องกับมาตรฐานการจัดการศึกษาระดับปฐมวัย คือ ด้านปัจจัยทาง
การศึกษา ด้านกระบวนการทางการศึกษา และด้านผลผลิตทางการศึกษา แต่มีหลายมาตรฐานที่ผล
การประเมินอยู่ในระดับต่ากว่า “ระดับดีมาก” ผู้วิจัย และผู้ร่วมวิจัยจึงได้ร่วมกันดาเนินงานโครงการ
เพื่อแก้ไขปัญหารวม 3 โครงการ คือ (1) โครงการยกระดับมาตรฐานการดาเนินงานด้านปัจจัยทาง
การศึกษา (2) โครงการยกระดับมาตรฐานการดาเนินงานด้านกระบวนการทางการศึกษา และ (3) โครงการ
ยกระดับมาตรฐานการดาเนินงานด้านผลผลิตทางการศึกษา 2) ปรากฏการณ์ของการปฏิบัติ พบว่า
การจัดการศึกษาปฐมวัยมีความเหมาะสม ชัดเจน สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย มีผลให้
โรงเรียนอนุบาลเทศบาลตาบลเมืองคงมีผลการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการประกันคุณภาพ
ภายใน “ระดับดีมาก” ขึ้นไปทุกมาตรฐาน 3) องค์ความรู้ที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้ง 3 ระดับ คือ
(1) ระดับบุคคล คือ มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ มุ่งมั่นในการทางาน อุทิศตนให้กับการทางานใฝ่รู้ใฝ่เรียน
(2) ระดับกลุ่ม คือ มีความรักความสามัคคี ช่วยเหลือเกื้อกูล แบ่งปัน พึ่งพากัน ทางานเป็นทีม ร่วมคิด
ร่วมทา ร่วมแก้ปัญหา มีภาวะผู้นา และ (3) ระดับองค์การ คือ มีบรรยากาศในการบริหารจัดการที่อบอุ่น
ไว้วางใจกัน มีวิสัยทัศน์ร่วมและมีความโปร่งใสในการบริหารจัดการศึกษามากยิ่งขึ้น
References
research: Planning, conducting
and evaluating quantitative and
qualitative research. (3rded). NJ:
Pearson Education.
Jareanwongsak, K. (2016). Early Childhood
Development just to Co-operative.
Search on March 1, 2016 from
http://www.kriengsak.com.
Lapmala, S. (2006). A Holistic Education.
Thailand Educational Journal. 3(20).
McTaggart, R. (2010). Participatory action
research or change and development.
Australia:James Cook University.
Mills, G.E. (2007). Action research: A
guide for the teacher researcher.
(3nded). New Jersey: Merrill Prentice
Hall.
Monpeanjun, CH.(2011). A Holistic
Approach to Early Childhood
Educational Management in Sub
District Administrative Organizations:
Case Study of Dong pong Childhood
Development Center. Khon Khean
Province. Journal of Education,
Khon Khean University. 7(2).
Muangkhong Distict Municipal Anuban
school. ( 2 0 1 4 ) . Self-Assessment
Report: Early Childhood 2013. n.p.
Namsiri, S. (2009). Academic Task
Development by Integrative
Principle in small size school: a
Participatory Action Research.
Journal of Educational Administration
Khon Kaen University. 5(2).
Office of the Education Council. (2002).
The National Education Act and
amendments. Bangkok: Prikwarn
Graphic.
Office of the Education Council. (2007).
Management of the local
Administration Report. Bangkok:
Prikwarn Graphic.
Office of the Education Council. (2007).
Policy and Strategy Early
childhood Development (0-5
years) In the long 2007-2016.
Bangkok: V.T.C. communication.
Office of the Education Council. (2007).
Thailand Early Learning: Learning
the Language along with Natural
and Holistic. (2nded). Bangkok:
V.T.C. communication.
Office of the Education Council. (2009).
Proposals to reform Education
in Second Decade(2009-2018).
Bangkok: Prikwarn Graphic.
Office of the Education Council. (2009).
The Advancement of Early
Childhood Learning Report 2008-
2009. Bangkok: Plean studio.
Office of the Education Council. (2011).
Development of General
Education for Participation of
Citzens. Bangkok: Prikwarn Graphic.
Office of the Education Council. (2013).
The National Strategic Plan for
Early Childhood (Birth before
entering grade 1), according to
the government policy on Early
Childhood 2012-2016. (2nded).
Bangkok: Prikwarn Graphic.
Quixley, S. (2008). Participatory action
research: A brief outline of the
concept. Taskforce: Canberra.
Rajanukul Institute. (2013). Guidelines for
the Early Childhood Development
National Strategy 2014. Bangkok:
Thailand Farmer Cooperative
Assembly Publisher.
Saikeaw, K. (2011). Early Childhood
Management in Area 1 Surin
Province: A Proposed Policy to
participatory Action Research.
Journal of Education, Khon Khean
University.7(1).
Sanrattana, V. (2010). Educational
Research: Concepts and case
study. Khon Khean: Klangnanawittaya.
Sittipiyasakul, V., et al. (2553). Scenario
Analysis Early Child Development It's
time to be Or the national
agenda? Inspection Area 17: The
Ministry of Public Health. Chiang
Mai: Kewalee Printing.
Somprach, K. (2012). Action Research for
Administrator. Department of
Educational Administration, Faculty
of Education, Khon Kean University.
Teptean, B. & Takulwong, P. (2007).
Healthcare Early Childhood in
Thailand. Journal of Public health
and Development. 5(3).
Wongchalee, S. (2012). A Participatory
Learning Approach to Learning
and Teaching Management
Development in Small Schools: A
case study of Ban Non Wangyiam
School, Bueng Kan Province.
Doctor of Philosophy Program in
Educational Administration Graduate
School, Khon khaen University.
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว