การออกแบบเครื่องเรือนเซรามิกระบบโมดูลาร์เพื่อตอบสนองรสนิยมผู้พักอาศัยใน
DOI:
https://doi.org/10.53848/irdssru.v9i2.214158คำสำคัญ:
เครื่องเรือน เซรามิก โมดูล่าร์ สไตล์ รสนิยม อาคารชุดบทคัดย่อ
เครื่องเรือนเซรามิกในประเทศไทยมีรูปแบบที่ยังไม่เหมาะสมกับการแต่งอาคารชุดสมัยใหม่ และไม่ได้ถูกออกแบบมาเพื่อการใช้งานสำหรับที่พักอาศัยแบบมีพื้นที่ใช้สอยที่จำกัด ถึงแม้ว่าเซรามิกจะมีคุณสมบัติที่ใช้ในการออกแบบและพัฒนารูปลักษณ์เครื่องเรือนได้โดยง่าย ในด้านรูปทรง รูปร่าง ผิวสัมผัส และลวดลายการตกแต่ง ทำให้สามารถใช้สร้างสรรค์รูปลักษณ์ที่เข้าได้กับรสนิยมการตกแต่งอาคารที่พักอาศัยได้หลากหลาย แต่เครื่องเรือนเซรามิกในตลาดปัจจุบันยังขาดการพัฒนาองค์ประกอบสำคัญในการตอบสนองลักษณะการพักอาศัยในอาคารชุดสมัยใหม่ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ในการพัฒนาแนวทางการออกแบบเครื่องเรือนเซรามิกจากองค์ประกอบของรูปลักษณ์เพื่อใช้ในการตอบสนองรสนิยมผู้พักอาศัยในอาคารชุด การดำเนินการวิจัยได้ทำการศึกษาข้อมูลเชิงคุณภาพในการวิเคราะห์ปัจจัยด้านความต้องการและประโยชน์ใช้สอย ส่วนข้อมูลเชิงปริมาณถูกนำมาใช้ในการวิเคราะห์หาองค์ประกอบของรูปลักษณ์ทางด้านการใช้งานและสไตล์ที่ส่งผลต่อกลุ่มเป้าหมายในการเลือกใช้เครื่องเรือนเซรามิก การศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างไม่ได้คาดหวังใช้เครื่องเรือนเซรามิกเป็นเครื่องเรือนหลัก แต่กลับมองว่าเป็นเครื่องเรือนที่จะสามารถใช้งานได้ในรูปแบบอเนกประสงค์ ทำให้รูปแบบของเครื่องเรือนเซรามิกเหมาะกับการใช้ระบบโมดูล่าร์ในการสร้างรูปแบบการใช้งานที่หลากหลาย ผลของการวิจัยชี้ให้เห็นว่าการออกแบบเครื่องเรือนเซรามิกให้มีรูปลักษณ์การใช้งานรูปแบบอเนกประสงค์และใช้สไตล์ที่เรียบง่ายสามารถที่จะใช้สื่อถึงรสนิยมของผู้พักอาศัยในอาคารชุดได้
References
Behaviour Model on the Furniture
Market. Acta Silvatica & Lignaria
Hungarica. 6, 75–88.
Creusen, E.H.M.; Schoormans,P.L.J. (2005).
The Different Roles of Product
Appearance in Consumer Choice.
The Journal of Product Innovation
Management. 22. 63-81.
Department of Industrial Promotion.
(2014). The Ceramic Industry in
Thailand. Ceramic Industry 2.
Fiell, C. (2006). Design Handbook:
Concepts, Materials, Styles. Los
Angeles, CA: Taschen.
Government Housing Bank. (2014). The
housing market and housing
loans in Thailand in 2556 and
outlook for 2557. The housing
market and housing loans, 36-39.
Hvam, L., N. H. M., Riis, J. (2008). Product
Customization. Denmark: Springer.
Hvam, L.; Mortensen, N.H.; Riis, J. (2008).
Product Customization. Denmark:
Springer.
International, C. (2012). Thailand Bangkok
condominium market report:
condominium. Bangkok.
Isara Boonyung. (2010). The situation in
the housing market and the
Metropolitan 2010-2012. 61, 20-26.
Jordan, W. P., Kälviäinen, M. (2002).
Pleasure with Product Beyond
Usability: Product Design for
Consumer Taste. CRC press.
Kasikorn Research Center. (2011).
Furniture. Retrieved November 21,
2011 from http://www.positioningmag.
Com.
Kotler, P. (2011). Principles of Marketing
(14th ed.). NJ: Prentice Hall.
Kress, R. G., Leeuwen, V. T. (1996).
Reading Images: The Grammar of
Visual Design. New York, NY:
Routledge.
LA Design Furniture. (2014). Modern
Furniture Features Explained.
Retrieved November 25, 2014 from
http://www.ladesignfurniture.com
Lehtonen, T. (2007). Designing Modular
Product Architecture in the new
product development. Tampere.
Finland.
Postell, J. (2012). Furniture Design
(2nded.). New Jersey: Wiley.
Ram, D. (1970). Ten Principle of Good
Design. Retrieved March 25, 2014
from https://www.vitsoe.com
Strategic Department. (2009). Economic
Report and medium-sized enterprises
in ceramics. The Office of SMEs
Promotion. Retrieved July 20, 2011
from http://www.sme.go.th
The Office of Small and Medium
Enterprises Promotion. (2009).
Report on the economic situation
and medium-sized enterprises in
ceramics.
Troian, D. (2009). Furniture industry: The
consumer furniture preference in
different markets. University of
Trento.
Walter, A. (2011). Designing for Emotion.
New York: Jeffrey Zeldman.
Warren, K. (2013). What are characteristics of
modern furniture? Retrieved May
5, 2014 from http://blog.
americanfreight.us
Weinstein, A. (2004). Handbook of
market segmentation: Strategic
Targeting for Business and Technology
Firms (3rded.). Binghamton, NY: The
Haworth Press.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว